แบรนด์
บทความ
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
เก้าอี้อาบน้ำ (Bath Chair)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยไขมันสูง (HyperLipidemia Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)
อุปกรณ์บริหารปอด (Respiratory Trainer)
อุปกรณ์วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Fingertip Oximeter)
อุปกรณ์ช่วยฟัง (Stethoscope)
อุปกรณ์บริหารและกายภาพบำบัด (Exercise & Physical Therapy)
สายสวนปัสสาวะ (Foley Balloon Catheter)
สายให้อาหารทางสายยาง (NG Tube, Feeding Tube)
ถุงให้อาหาร (Nutrition Bag)
ถุงปัสสาวะ (Urine Collection Bag)
ผ้ายืดสวมประคอง (Elastic Bandage)
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ( Corrugated Tube )
เทปแต่งแผล (Adhesive Tape roll)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
น้ำเกลือ (Normal Saline)
แปรงสีฟัน (Toothbrush)
เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ Anti-Bedsore Gel Cushion
หมอนป้องกันแผลกดทับ (Anti-Bedsore Pillow)
หมอนก-ข-ค (ก้น-ขา-คอ)
สเปรย์น้ำทะเล เจือจางพ่นหรือล้างจมูก
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยฟอกเลือด ล้างไต
อาหารโภชนบำบัด สำหรับผู้สูงอายุ (Nutrition Therapy Aging)
อาหารควบคุมน้ำหนัก (Nutrition for Weight Control)
อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอุดกั้น (COPD Nutrition)
สารอาหาร
วิตามินซี (Vitamin C)
สารสกัดจากเมล็ดองุ่น Grape Seed Extract
Gingko Biloba สารสกัดจากใบแปะก๊วย
วิตามินบี1 Vitamin B1-Thiamine
วิตามินบี6 Vitamin B6-PYRIDOXINE
วิตามินดี Vitamin D
โคเอนไซม์คิวเท็น Coenzyme Q10
Bioflavonoid (ไบโอฟลาโวนอยด์ -วิตามิน P)
แอล-กลูตาไธโอน (L - Glutathione)
แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine)
ไลซีน L-Lysine
แอล-อาร์จินีน (L-Arginine)
Collagen (คอลลาเจน)
ไลโคพีน Lycopene
น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว Rice Bran Oil
น้ำมันปลา Fish oil-Omega 3
วิตามินบี12 Vitamin B12-Cobalamin
น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส Evening Primrose Oil
อะเซโรลาเชอรี่ Acerola Cherry
อัลฟ่า-ไลโปอิก-แอซิด (Alpha Lipoic Acid)
แอสตร้าแซนทีน (Astaxantine)
พรอบพอริส (Propolis)
สารสกัดบิลเบอร์รี่ (Bilberry)
เบต้ากลูแคน (Beta-glucan)
ไบโอติน (Biotin)
สารสกัดแบล็คโคโฮช (Black Cohosh)
น้ำมันโบราจ Borage Oil
โบรอน Boron
บรีเวอร์ยีสต์ Brewer Yeast
สารสกัดต้นตะบองเพชร (Cactus)
Aquamin (อะควอมิน-แคลเซี่ยมจากสาหร่ายทะเล)
ไคโตซาน (Chitosan)
Chlorophyll (คลอโรฟิล)
โคลีน Choline
คอนโดรอิติน (Chondroitin)
โครเมี่ยม-พิโคลิเนต (Chromium picolinate)
สารสกัดจากอบเชย (Cinnamon Extract)
แครนเบอร์รี่ (Cranberry)
Curcumin
สารสกัดเอคไคเนเชีย (Echinesia)
ไฟเบอร์ (Fiber)
น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flax seed oil)
โฟลิก-แอซิด (Folic acid)
กรดไขมันแกมม่า ไลโนเลอิค แอซิดGamma Linoleic acid
สารสกัดส้มแขก (Garcinia Extract)
สารสกัดกระเทียม (Garlic Extract)
สารสกัดโสม (Ginseng Extract)
กลูโคซามีน Glucosamine
L-Glutamine (แอล กลูตามีน)
สารสกัดชาเขียว (Green tea extract)
สารสกัดหญ้าหางม้า (Horsetail extract)
เซนต์จอห์นเวิร์ต St’ John Wort (Hypericin)
อินโนซิทอล (Inositol)
เลซิติน (Lecithin-phosphatidylcholine)
แมกนีเซียม (Magnesium)
เมลาโทนิน (Melatonin)
เอ็นอะเซทิลซีสเตอีน N-Acetyl Cysteine (NAC)
วิตามินรวม (Multi-Vitamins)
Nicotinamide นิโคตินามายด์ (B3 Complex)
วิตามินบี3-ไนอาซิน (Vitamin B3-Niacin)
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
โปรไบโอติก (Probiotics)
พรีไบโอติก (Prebiotics)
สารสกัดจากเมล็ดฟักทอง (Pumpkin seed extract)
รอยัลเยลลี่ Royal Jelly
สารสกัดเซาพาเมตโต้ (Saw palmetto Extract)
ซีลีเนี่ยม (Selenium)
กระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)
สารสกัดดอกมิลค์ทิสเซิล (Silymarin extract)
ทีทรีออยล์ (Tea tree oil)
วาเลอเลียน (Valerian)
วิตามินอี (Vitamin E)
สารสกัดถั่วขาว (White Kidney Bean Extract)
ลูทีนและซีแซนทีน (Lutein,Zeaxanthin)
แร่ธาตุสังกะสี (Zinc)
กวาวเครือขาว (Pueraria Mirifica)
เอ็นไซม์ (Enzymes)
วิตามินเค (Vitamin K)
VitaminB5-Pantothenic acid (วิตามินบี 5 แพนโททีนิค แอซิด)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
น้ำมันเปปเปอร์มิ้นท์ Peppermint Oil
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
งาดำ Sesame
ข้าวยีสต์แดง Red Yeast Rice
สารสกัดถั่วเหลือง Isoflavone
สารสกัดทับทิม Promegranate
วิตามินบี2 -ไรโบเฟลวิน (Vitamin B2-Riboflavin)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
วิธีสั่งซื้อ
อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคตับ ใช้สำหรับเสริมปริมาณอาหารในผู้ป่วยที่มีการทำงานของตับเสื่อมสมรรถภาพ ลดภาวะการขาดโปรตีน และพลังงานในผู้ป่วยโรคตับได้ ซึ่งช่วยบรรเทาอาการของโรค และใช้อาหารนั้นเป็นเครื่องช่วยให้ร่างกายฟื้นจากโรคภัยไข้เจ็บ อาหารจึงมีความจำเป็นในการให้ผู้ป่วยหายจากโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น เนื่องจากการกินอาหารไม่ได้เต็มที่หรือกินไม่ถูกต้อง ช่วยให้ผู้ป่วยโรคตับมีคุณภาพที่ดีและลดอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยโรคตับได้
สาเหตุหลัก ๆ ของการเกิดภาวะทุพโภชนาการในโรคตับ มีอยู่ด้วยกัน 3 อย่าง ก็คือ
เป็นอวัยวะที่สำคัญเกี่ยวกับการเผาผลาญอาหารที่สำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมันและ โปรตีน มีการสร้างโปรตีนต่างๆ และทำลายสารพิษรวมทั้งขับของเสียซึ่งเกิดจากภายในและภายนอก ตับมีความสามารถสำรองจำนวนมาก เพราะเหลือเนื้อตับจำนวนร้อยละ 20 ก็ยังสามารถทำงานได้ อย่างดีรวมทั้งสามารถซ่อมแซมตัวเองได้ดีแต่ถ้าภาวะโภชนาการไม่ดีจะทำให้โรคตับที่เป็นอยู่รุนแรงขึ้นและรักษาตัวเองไม่ได้ดีเป้าหมายการให้โภชนาการเพื่อพยุงการทำงานของตับ และ ส่งเสริมให้ตับ สามารถซ่อมแซม และฟื้นตัวได้
ตับเป็นแหล่งควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ที่สำคัญเมื่อไม่ได้รับอาหาร ตับจะสลายกลัยโคเจน (glycogenolysis) เพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ถ้ายังอดอาหารต่อเนื่องจะมีการสลายกรดอะมิโนและไขมันเป็นน้ำตาลต่อไป ในผู้ป่วยโรคตับรุนแรงขบวนการนี้จะเสียหายและทำให้เกิดภาวะ น้ำตาลต่ำได้(hypoglycemia)
ตับควบคุมการใช้พลังงานจากไขมัน กรดไขมัน ทั้งที่เกิดภายในและจากอาหารภายนอกจะ ถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานใน Krebs cycle เมื่ออดอาหาร ตับจะมีสร้าง ketone bodies ซึ่งจะถูกใช้ใน อวัยวะที่สำคัญคือ สมองแทนกลูโคส เพื่อถนอมกรดอะมิโนไม่ให้เปลี่ยนเป็นกลูโคส ทำให้โปรตีนในกล้ามเนื้อยังคงอยู่นอกจากนี้ ตับยังสังเคราะห์สารโคเลสเตอรอลกรดน้ำดีและlipoprotein อีกด้วย ถ้าผู้ป่วยได้รับอันตรายที่ตับขบวนการเหล่านี้จะเสียไป ทำให้เกลือน้ำดีและน้ำดีบกพร่อง ทำให้การดูดซึมของไขมันและวิตามินที่ละลายไขมันเสียไป
โปรตีน
ขบวนการใช้กรดอะมิโนทั้งที่ได้จากภายในและภายนอก ที่เกิดขึ้นในตับ ตลอดเวลา เพื่อมีการสร้างโปรตีนใหม่โดยผ่านขบวนการ transamination, animationและ deamination เกิดแอมโมเนีย เป็นผลเสียของการสลายกรดอะมิโน เปลี่ยนเป็นยูเรียที่ตับและขับออกทางปัสสาวะ การเปลี่ยนแปลงเมตะบอลิซึมของโปรตีน อาจจะเป็นสิ่งสำคัญของโรคตับ ทำให้พบลักษณะเฉพาะคือกล้ามเนื้อลีบ และมีอาการทางสมอง encephalopathy เมื่อตับเสื่อมหน้าที่ก็จะได้ปริมาณน้ำตาลกลูโคสน้อยลง ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายต้องสลายกรดอะมิโนแบบกิ่ง (BCAA) คือ leucine, Isoleucineและ Valine เป็นพลังงาน ทำให้ระดับในเลือดของสารเหล่านี้ต่ำลง ขณะเดียวกันกรดอะมิโนกลุ่ม aromatic (AAA)คือ phenylalanine, tyrosine และ tryptophan และ methionine ไม่ถูกใช้โดยตับทำให้ระดับในเลือดสูงขึ้น ทำให้สัดส่วนของกรดอะมิโนในกลุ่มนี้สูงขึ้น สัดส่วนของ BCAA /AAA จึงต่ำลงและสัดส่วนของ tryptophan อิสระ/ tryptophan ที่จับกับโปรตีนสูงขึ้น
อาการโรค hepatic encephalopathy ซึ่งพบ neuromuscular irritability, stuporและ coma จะพบในโรคตับที่เป็นมาก (decompensated liver disease) โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการเมื่อมีปัจจัยมากระตุ้น เช่น การติดเชื้อ, การขาดน้ำ , กินเหล้า หรือกินโปรตีนมากเกินกว่าที่ตับจะทนได้อาการทาง สมองจากตับจะมีหลายปัจจัยเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งคือ false neuro transmitter ในสมองการแก้ไขระดับในเลือดของกรดอะมิโนจะช่วยได้ในบางคน
โรคตับเรื้อรังที่มีอาการทางสมองจะมีเมตะบอลิซึมแตกต่างจากโรคตับวายเฉียบพลัน คือมี ระดับกรดอะมิโนใน BCAA ปกติอยู่ขณะที่กรดอะมิโนอื่นๆ จะสูงการรักษาโดยให้ BCAA จึงไม่มีประโยชน์ในผู้ป่วยกลุ่มนี้
การให้โภชนบำบัด
โรคตับวายรุนแรง การให้โภชนบำบัดมีความลำบากมากเพราะเมื่อได้กินโปรตีนขนาดปกติ ผู้ป่วยอาจจะเกิดอาการทางสมองได้แต่ถ้าให้กินโปรตีนน้อยไป ก็จะทำมีโปรตีนไม่พอในการสร้างโปรตีนใหม่ซึ่งสำคัญต่อระบบภูมิต้านทาน ดั้งนั้นหลักการรักษาคือ ต้องให้โปรตีนให้พอกับความต้องการของร่างกายโดยไม่เกิดอาการทางสมองและถ้าจำเป็นต้องจำกัดปริมาณโปรตีน เพื่อรักษาอาการทางสมอง ต้องทำระยะส้ันๆเท่านั้น แนวทางรักษามีดังนี้
· ผู้ป่วยโรคตับมักไม่ได้รับการวินิจฉัยว่า มีภาวะทุพโภชนาการเป็นส่วนใหญ่
· ในผู้ป่วยที่ขาดอาหารที่เป็นโรคตับไม่ว่า จะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม ให้มองหาและรักษา ภาวะ malabsorption และ maldigestion และมองหา และรักษาสาเหตุของhypermetabolism ด้วยเช่น ติดเชื้อ, ascites, encephalopathy
· ให้ประเมินภาวะโภชนาการ และทำ 24 – hour urinary urea nitrogen พยายามรักษา ไม่ให้น้ำหนักหายไป
· ถ้ามีบวมหรือมี ascites ให้ลดโซเดียมน้อยกว่า 2 กรัม/วัน
· ถ้าโซเดียมในเลือดน้อยกว่า 120 mmol/L ให้จำกัดปริมาณน้ำ
· โปรตีนในสูตรอาหารทางสายและทางหลอดเลือดดำ มาตรฐานใช้ได้ถ้าผู้ป่วยไม่มี ประวัติอาการทางสมอง ถ้าผู้ป่วยมีอาการทางสมองควรให้จำกัดโปรตีน 0.5-0.7 กรัม/ กก.น้ำหนักที่แห้ง เมื่ออาการทางสมองดีขึ้น เพิ่มโปรตีนวันละ10-15 กรัม จนได้ปริมาณ ที่ร่างกายต้องการ แต่ถ้าเพิ่มโปรตีนแล้วมีอาการทางสมองเพิ่มขึ้น ให้พิจารณาอาการที่มี branched-chain จนได้ปริมาณโปรตีน 1.2-1.5 กรัม/กก/วัน
· จำกัดปริมาณไขมัน เมื่อมีอาการ fat malabsorption
· วิตามินและเกลือแร่ให้เสริมเพื่อป้องกันการขาด
· สมดุลน้ำ และอิเล็กโตไลท์ต้องรักษาตลอด
· ในผู้ป่วยตับวายระยะท้ายควรทำการตรวจมวลกระดูก (DEXA) เพราะโอกาสเกิด osteo penia และ osteoporosis มีสูง
· ถ้าผู้ป่วยรอเปลี่ยนตับต้องให้โภชนบำบัดเต็มที่ ถ้าไม่พอต้องใส่ท่อให้อาหารเสริมให้พอ
· ประเมินภาวะโภชนาการเป็นระยะๆว่าได้อาหารพอหรือไม่
การให้โภชนบำบัด
1.ศ.พญ.จุฬาภรณ์รุ่งพิสุทธิพงษ์ หน่วยโภชนวทิยาและชีวเคมีทางการแพทย์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี , โภชนบำบัดในโรคไตและตับ 1. National Kidney Foundation Kidney Disease Outcomes Quality Initiative: Clinical practice guidelines for nutrition in chronic renal failure. Am J Kidney Dis 35:S1-S140, 2000; available at http://www.kidney.org/professionals/kdogi/guidelines updates/doqi nut.html. 2. Owen WF, Jr., Lew NL, Liu Y, et al: The urea reduction ratio and serum albumin concentration as predictors of mortality in patients undergoing hemodialysis. N Engl J Med 329:1001-1006, 1993. 3. Klahr S, Levey AS, Beck GJ, et al: The effects of dietary protein restriction and bloodpressure control on the progression of chronic renal disease. N Engl J Med 330: 877-884, 1994. 4. Moore E, Celano J: Challenges of providing nutrition support in the outpatient dialysis setting. Nutr Clin Pract 20:202-212, 2005. 5. Kopple JD: Nutrition, diet and the kidney. In Shils ME, Shike M, Ross AC, (eds): Modern Nutrition in Health and Disease, 10th ed. Baltimore. Lippincott Williams & Wilkins, 2005. 6. American Association for the Study of Liver Diseases, http://www.aasld.org/
2.ฐนิต วินิจจะกูล ,นักกำหนดอาหารวิชาชีพ ,กำลังศึกษาต่อ Master of Science (Nutrition and Dietetics)
The University of Utah สหรัฐอเมริกา ,ป้า อคาเดมี่ ห้องสมุดออนไลน์สำหรับนักกำหนดอาหาร, โภชนบำบัดในโรคตับ ,Fischer JE, et al. The effect of normalization of plasma amino acids on hepatic encephalopathy in man. Surgery. 1976; 80(1): 77-91. , Johnson TM, et al. Nutrition Assessment and Management in Advanced Liver Disease. Nutr Clin Pract. 2013; 28(1): 15-29. , Marchesini G, et al. Nutritional supplementation with branched-chain amino acids in advanced cirrhosis: a double-blind, randomized trial. Gastroenterology. 2003; 124(7): 1792-801.
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง