แบรนด์
บทความ
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
เก้าอี้อาบน้ำ (Bath Chair)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยไขมันสูง (HyperLipidemia Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)
อุปกรณ์บริหารปอด (Respiratory Trainer)
อุปกรณ์วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Fingertip Oximeter)
อุปกรณ์ช่วยฟัง (Stethoscope)
อุปกรณ์บริหารและกายภาพบำบัด (Exercise & Physical Therapy)
สายสวนปัสสาวะ (Foley Balloon Catheter)
สายให้อาหารทางสายยาง (NG Tube, Feeding Tube)
ถุงให้อาหาร (Nutrition Bag)
ถุงปัสสาวะ (Urine Collection Bag)
ผ้ายืดสวมประคอง (Elastic Bandage)
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ( Corrugated Tube )
เทปแต่งแผล (Adhesive Tape roll)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
น้ำเกลือ (Normal Saline)
แปรงสีฟัน (Toothbrush)
เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ Anti-Bedsore Gel Cushion
หมอนป้องกันแผลกดทับ (Anti-Bedsore Pillow)
หมอนก-ข-ค (ก้น-ขา-คอ)
สเปรย์น้ำทะเล เจือจางพ่นหรือล้างจมูก
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยฟอกเลือด ล้างไต
อาหารโภชนบำบัด สำหรับผู้สูงอายุ (Nutrition Therapy Aging)
อาหารควบคุมน้ำหนัก (Nutrition for Weight Control)
อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอุดกั้น (COPD Nutrition)
สารอาหาร
วิตามินซี (Vitamin C)
สารสกัดจากเมล็ดองุ่น Grape Seed Extract
Gingko Biloba สารสกัดจากใบแปะก๊วย
วิตามินบี1 Vitamin B1-Thiamine
วิตามินบี6 Vitamin B6-PYRIDOXINE
วิตามินดี Vitamin D
โคเอนไซม์คิวเท็น Coenzyme Q10
Bioflavonoid (ไบโอฟลาโวนอยด์ -วิตามิน P)
แอล-กลูตาไธโอน (L - Glutathione)
แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine)
ไลซีน L-Lysine
แอล-อาร์จินีน (L-Arginine)
Collagen (คอลลาเจน)
ไลโคพีน Lycopene
น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว Rice Bran Oil
น้ำมันปลา Fish oil-Omega 3
วิตามินบี12 Vitamin B12-Cobalamin
น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส Evening Primrose Oil
อะเซโรลาเชอรี่ Acerola Cherry
อัลฟ่า-ไลโปอิก-แอซิด (Alpha Lipoic Acid)
แอสตร้าแซนทีน (Astaxantine)
พรอบพอริส (Propolis)
สารสกัดบิลเบอร์รี่ (Bilberry)
เบต้ากลูแคน (Beta-glucan)
ไบโอติน (Biotin)
สารสกัดแบล็คโคโฮช (Black Cohosh)
น้ำมันโบราจ Borage Oil
โบรอน Boron
บรีเวอร์ยีสต์ Brewer Yeast
สารสกัดต้นตะบองเพชร (Cactus)
Aquamin (อะควอมิน-แคลเซี่ยมจากสาหร่ายทะเล)
ไคโตซาน (Chitosan)
Chlorophyll (คลอโรฟิล)
โคลีน Choline
คอนโดรอิติน (Chondroitin)
โครเมี่ยม-พิโคลิเนต (Chromium picolinate)
สารสกัดจากอบเชย (Cinnamon Extract)
แครนเบอร์รี่ (Cranberry)
Curcumin
สารสกัดเอคไคเนเชีย (Echinesia)
ไฟเบอร์ (Fiber)
น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flax seed oil)
โฟลิก-แอซิด (Folic acid)
กรดไขมันแกมม่า ไลโนเลอิค แอซิดGamma Linoleic acid
สารสกัดส้มแขก (Garcinia Extract)
สารสกัดกระเทียม (Garlic Extract)
สารสกัดโสม (Ginseng Extract)
กลูโคซามีน Glucosamine
L-Glutamine (แอล กลูตามีน)
สารสกัดชาเขียว (Green tea extract)
สารสกัดหญ้าหางม้า (Horsetail extract)
เซนต์จอห์นเวิร์ต St’ John Wort (Hypericin)
อินโนซิทอล (Inositol)
เลซิติน (Lecithin-phosphatidylcholine)
แมกนีเซียม (Magnesium)
เมลาโทนิน (Melatonin)
เอ็นอะเซทิลซีสเตอีน N-Acetyl Cysteine (NAC)
วิตามินรวม (Multi-Vitamins)
Nicotinamide นิโคตินามายด์ (B3 Complex)
วิตามินบี3-ไนอาซิน (Vitamin B3-Niacin)
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
โปรไบโอติก (Probiotics)
พรีไบโอติก (Prebiotics)
สารสกัดจากเมล็ดฟักทอง (Pumpkin seed extract)
รอยัลเยลลี่ Royal Jelly
สารสกัดเซาพาเมตโต้ (Saw palmetto Extract)
ซีลีเนี่ยม (Selenium)
กระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)
สารสกัดดอกมิลค์ทิสเซิล (Silymarin extract)
ทีทรีออยล์ (Tea tree oil)
วาเลอเลียน (Valerian)
วิตามินอี (Vitamin E)
สารสกัดถั่วขาว (White Kidney Bean Extract)
ลูทีนและซีแซนทีน (Lutein,Zeaxanthin)
แร่ธาตุสังกะสี (Zinc)
กวาวเครือขาว (Pueraria Mirifica)
เอ็นไซม์ (Enzymes)
วิตามินเค (Vitamin K)
VitaminB5-Pantothenic acid (วิตามินบี 5 แพนโททีนิค แอซิด)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
น้ำมันเปปเปอร์มิ้นท์ Peppermint Oil
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
งาดำ Sesame
ข้าวยีสต์แดง Red Yeast Rice
สารสกัดถั่วเหลือง Isoflavone
สารสกัดทับทิม Promegranate
วิตามินบี2 -ไรโบเฟลวิน (Vitamin B2-Riboflavin)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
วิธีสั่งซื้อ
ไตเป็นอวัยวะที่สำคัญในการดำรงอยู่ของชีวิต โดยจะทำหน้าที่ขับถ่ายของเสีย สร้างสารที่จำเป็นของร่างกายเช่น ฮอร์โมน erythropoiesis ฯ และทำลายสารบางอย่าง ถ้าไตเป็นโรคก็จะทำให้เกิดการคั่งของของเสียต่างๆ ซึ่งจะมีผลต่อสารอาหารและภาวะสุขภาพของร่างกายด้วย เช่น
♦ การขับสารยูเรียซึ่งเป็นผลสุดท้ายของการย่อยโปรตีนจะบกพร่องก่อให้เกิดการคั่งในเลือด
♦ การควบคุม อิเล็กโตรไลท์, โซเดียม, โปตัสเซียม, ฟอสฟอรัส, แคลเซียม, แมกนีเซียม, น้า และอนุมูลไฮโดรเจนเสียไป
♦ การเมตะบอลิซึมของวิตามินเสียไป
♦ มีอาการเบื่ออาหารและสูญเสียมวลกล้ามเนื้อของร่างกาย อาการเหล่านี้จะรุนแรงเป็นมากหรือน้อยขึ้นกับระยะเวลาของโรคว่า เป็นแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง การให้อาหารทางการแพทย์จะช่วยให้อาการของโรคทุเลาและการดำเนินโรคดีขึ้น การให้อาหารที่ถูกต้องจำเป็นอย่างยิ่ง ถ้าไตเสื่อมจนถึงขั้นเรื้อรังจะมีอาการเบื่ออาหารและมีการทำลายกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ทำให้ผอม กล้ามเนื้อน้อย ในเด็กจะเติบโตช้า การให้อาหารที่เหมาะสมจะหยุดยั้งการเสื่อมของโรคไต และชะลอการล้างไตได้
โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease) เป็นโรคที่ไม่อาจรักษาให้หายขาดได้ การบำบัดทั้งด้วยยา และด้วยอาหาร (ควบคุมสารอาหารหลายชนิด) ก็เพียงชะลอความเสื่อมของไตไว้ได้บ้างเท่านั้น คือมีผลให้หน่วยไตถูกทำลายช้าลง ยืดเวลาที่จะต้องเข้าสู่ระยะที่ต้องใช้อุปกรณ์ทดแทนไต เช่น ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemo dialysis) ให้ยาวออกไป หรือการล้างไตผ่านทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis) อาจช่วยให้ชีวิต ยืนยาวขึ้นได้บ้าง
โรคไตเรื้อรังจำ เป็นอย่างยิ่งที่ต้องประเมินภาวะโภชนาการในระยะเริ่มต้น การประเมินโดย การดูน้ำหนัก, วัดไขมัน Triceps BMI (ดัชนีมวลกาย) ก็ช่วยติดตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกายได้ แต่ถ้าระยะท้ายของโรคที่ไม่มีปัสสาวะ การประเมินทำได้ยากเนื่องจากบวมน้ำ การแปรผลจากการวัดสัดส่วนของร่างกาย หรือผลเลือดต้องทำอย่างระมัดระวังเมื่อ GFR ได้น้อยกว่า 20 มล/นาที ต้องวัด สิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นระยะๆ คือ
การให้โภชนบำบัดในโรคไต
► พลังงาน ผู้ป่วยโรคไตควรได้รับ 25-40 K Cal/ IBW หรือ 1.1-1.4 เท่าของ BEE ข้อควรระวังคือ พลังงาน ยังขึ้นกับกิจกรรมต่างๆ และจากการล้างไตทางหน้าท้องอาจให้พลังงานเพิ่ม 500-1000 K Cal/วัน
► โปรตีน ในภาวะปกติ ไตจะรองรับปริมาณกรอง โปรตีนกลับได้ 30 กรัมต่อวัน โรคไตจะเพิ่มการ กรองออกได้มากขึ้นและดูดซึมกลับได้น้อยลง เกิดภาวะprotein urea สาร urea ถูกดูดซึมกลับได้ครึ่งเดียว ทำให้ยูเรียในเลือดเพิ่มขึ้น ทำให้มีอาการuremia การลดปริมาณรับประทานของโปรตีนในคนไข้โรคไตเป็น 0.6 กรัม/กก/วัน เพื่อควบคุม อาการ uremia หรือเพื่อชะลออาการของโรคแต่ปริมาณโปรตีนเพิ่มมากขึ้นถ้าผู้ป่วยล้างไตทางหน้าท้อง หรือ CRRT (4) ถ้า GFR < 25 มล/นาทีและไม่ได้ล้างไต ควรให้โปรตีน 0.28 กรัม/กก/วัน ร่วมกับกรตอะมิโนจำเป็น หรือเสริมด้วย keto acid จะช่วยลดอาการuremia และ BUN ไม่เพิ่มแต่การดำเนินโรคและ อัตราตายยังเหมือนเดิม การปฏิบัติได้ตามคำแนะนำนี้ยากมาก ในผู้ป่วยไตวายเฉียบพลัน การคุมปริมาณกรดอะมิโนไม่จำเป็นไม่ค่อยให้ประโยชน์เพราะ ร่างกายใช้สารนี้ในการสร้างโปรตีนและซ่อมแซมไต การวิจัยยังไม่พบประโยชน์ของการใช้สูตรโรคไต ที่ทำให้หายเร็วขึ้น หรือโอกาสรอดชีวิตเพิ่มขึ้น ดั้งนั้นควรให้ balance amino acid ที่มีทั้งกรดอะมิโนจำเป็นและไม่จำเป็นร่วมกัน ดีต่อโรคไต เรื้อรังและเฉียบพลันทั้งทาง enteral และ parenteral โดยมีเป้าหมายให้โปรตีนตามที่ร่างกาย ต้องการผู้ที่ควรได้รับเพิ่มคือขณะที่มีphysiologic stress หรือผู้ที่ได้รับ steroid (ผู้ที่ได้รับการเปลี่ยน ไต) โดยดูจาก 24 ชม. UUN ในผู้ที่มีปัสสาวะน้อยหรือไม่มีและ BUN เปลี่ยนแปลง หรือการวัด 24 hr UUN ไม่น่าเชื่อถือควรตรวจ UNA (urea nitrogen appearance)แทน ใช้เมื่อ BUN และน้ำมี เปลี่ยนแปลงใน 1-3 วันในช่วงระหว่างล้างไตหน้าท้องถ้าได้โปรตีนเกินตามความต้องการจากการ คำนวณ UUN หรือ UNA จะเพิ่ม urea genesis และ BUN เพิ่มสูงแต่ถ้าให้ไม่เกินความต้องการจะไม่ เกิด urea genesis แต่ถ้าให้ขาดเกิดภาวะnegative nitrogen balance จะทำให้อาการทางไตเสื่อมลงไม่ควรทำ
ในผู้ป่วย nephrotic syndrome ห้ามไม่ให้ทดแทนโปรตีนที่ออกมากับปัสสาวะเพราะไม่พบว่า เพิ่มโปรตีนในเลือดและในเนื้อเยื่อและการเพิ่มโปรตีนจะเพิ่ม glomerular permeability และทำให้เสีย albumin ในปัสสาวะจะเพิ่มขึ้น ดั้งนั้นการให้โปรตีนในกลุ่มนี้คิดเหมือนโรคไตอื่นๆ โดยไม่เพิ่ม โปรตีนที่ออกมาจากปัสสาวะ
► ไขมัน ผู้ป่วยโรคไต มักพบ ภาวะไขมันไตรกลีเซอไรท์สูงในเลือดได้บ่อยมาก เนื่องจากพบความ ผิดปกติการทำลายของ lipoprotein ในโรค nephrotic syndrome มีปัจจัยส่งเสริมให้เกิดไขมันนี้สูง การรักษาให้ลดไขมันตัวนี้ไม่พบว่า ทำให้อัตราตายลดลงการแนะนำ ให้กินอาหารในผู้ป่วยที่มีไขมันในเลือดสูง ในคนไข้โรคไตที่ยังไม่มีอาการuremia เพื่อป้องกันการตายจากโรคหัวใจในคนไข้โรคไต
► สารน้ำและอีเล็กโตรไลท์
► โซเดียมและน้ำ ไตส่วน glomeruli จะกรองน้ำ และโซเดียมในภาวะปกติและถูกดูดซึมกลับที่ tubulesและท่อcollecting เมื่อ GFR ลดลงการกรองลดลงและการดูดซึมกลับเท่าเดิม ทำให้ไม่สามารถปรับตัวตามปริมาณโซเดียมที่รับประทาน เกิดผลคั่ง ของโซเดียมและน้ำ ทำให้บวม ความดันโลหิตสูง และหัวใจล้มเหลว ดั้งนั้นต้องคุมปริมาณโซเดียมและน้ำ ให้เหมาะสมกับการดำเนินโรค ประมาณ 1-3 กรัม/วัน ปริมาณน้ำ เท่ากับ ปริมาณปัสสาวะ+ 500 มล. จาก insensible loss โดยเฉพาะ โรค nephrotic syndrome ต้องคุมปริมาณเกลือเสมอ แต่ถ้ามีโรคที่ tubule จะไม่สามารถดูดซึมเกลือโซเดียมและน้ำ ทำให้เกิดภาวะ dehydration, ความดันต่ำและ GFR ลดลงเรื่อยๆ ดั้งนั้นไม่ควรคุม Na และน้ำควรให้อย่างเหมาะสม
► โปตัสเซียม (K) โปตัสเซียมกรองผ่าน glomeruli และถูกดูดซึมกลับที่ท่อไตส่วนต้น และถูกขับออกที่ท่อไต ส่วนปลายและท่อ collecting ไตวายเฉียบพลันและเรื้อรังจะเสียส่วน tubular ทำให้ K สูงและอาจเสียชีวิตจากหัวใจเต้นผิดปกติ ควรได้วันละ 60 mEg/วัน ภาวะ hyperkalemia นึกถึงถ้าพบ acidosis ปัสสาวะออกน้อย หรือมีภาวะ catabolism
► ฟอสฟอรัสและแคลเซียม (P และ Ca) ไตวายเรื้อรังจะพบ P สูงในเลือด มีผลให้ระดับแคลเซียมต่ำ และกระตุ้น ฮอร์โมน parathyroid ทำให้ดึง Caจากกระดูก ลำไส้ และไต และขับ P ออก ทำให้เกิดภาวะ hyperparathyroidism และ renal osteodystrophy มีผลทำให้ไตเสื่อมลงไปเรื่อยๆ ดั้งนั้นควรแนะนำให้คุมอาหารประเภทให้ฟอสฟอรัสเร็วที่สุดและให้ยาลดกรดเพื่อจับกับ P ลดระดับ Pในเลือดให้เร็วที่สุด แม้ว่ายังไม่สูงในเลือด ควรให้Ca Co3 ดีกว่า aluminums hydroxide เพราะถึงแม้จะจับกับ Pได้ดีแต่มีผลเสียของ aluminums ที่จะสะสมในสมองและกระดูกทำให้เกิด dementia และ osteomalacia และให้ระหว่างมื้ออาหาร ช่วยแก้acidosis ด้วย สาร sevelamer เป็นอีก ตัวที่จับ Pได้ดีและไม่มีCa หรือ Aluminum เป็นส่วนประกอบ
► แมกนีเซียม (Mg) แมกนีเซียมถูกขับออกทางไต พบภาวะสูงในเลือดได้เมื่อเกิดไตวายเฉียบพลนัและเรื้อรัง อาหารที่แนะนำของโรคไต จะลดแมกนีเซียมด้วย และควรหลีกเลี่ยงยาที่มี Mgผสมเช่น ยาลดกรด, ยาระบาย PH
วิตามิน ไตวายเรื้อรังจะขาดวิตามินที่ละลายน้ำ เนื่องจากกินอาหารได้น้อย ดูดซึมจากไตได้น้อยเช่น B6และเสียไปทางล้างไต ควรให้วิตามินเสริม ในขนาดที่ RDA แนะนำ และเพิ่ม folic acid 0.8-1 มก. B6 (5 มก. ถ้าไม่ล้างไต 10 มก. วันล้างไต) โรคไตไม่สามารถจับ retinol bind protein ได้ดี จึงเกิด hypervitaminosis A ดั้งนั้นห้ามให้ วิตามินเอเสริม ในโรคไตวายเรื้อรังและขาดวิตามิน D ได้เนื่องจาก 25-hydroxy cholecalciferol (calcifediol) เปลี่ยนเป็ น 1-25 di hydroxy cholecalciferol (calcitriol) ไม่ได้มีผลให้ลำไส้ดูดซึม Ca ไม่ดีเกิด hypocalcemia ควรให้ calcitriol เริ่มจาก0.25-0.5 มก/วัน โดยติดตามระดับแคลเซียม และP ในเลือดอย่างใกล้ชิด
ธาตุเหล็ก พบขาดบ่อยในโรคไตวายเรื้อรัง เพราะกินได้น้อยและลำไส้ดูดซึมได้น้อย เลือดออกในกระเพาะและเลือดน้อย และการฟอกไต การเสริมธาตุเหล็กทางรับประทานและฉีด พร้อมกับได้ erythropoietin (epoetin alpha) จะช่วยภาวะเลือดจางได้
ธาตุสังกะสี (Zn) เสริมแม้นว่า จะมีงานวิจัยว่าให้ ZnSo4 220 มก/วนั จะช่วยเรื่องรับ รสชาตอาหารดีขึ้น, ช่วยกระตุ้นกินอาหารและทางเพศสัมพนัธ์ได้ดีขึ้น แต่ยังไม่แนะนำให้เสริมในโรคไตทุกราย
เอกสารอ้างอิง : 1.สิริพันธุ์ จุลกรังคะ, โภชนศาสตร์เบื้องต้น, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2550 2.เนตรนภิส ธีระวัลย์ชัย, โภชนาการ บทที่23 โภชนาการ 1002 – 1042, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3.งานโภชนศาสตร์คลินิก คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล, โภชนศาสตร์ทางคลินิก ปี2551 4.รายงานคณะกรรมการจัดทำข้อกำหนดสารอาหารประจำวันที่ร่างกายควรได้รับของประชาชนไทย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข พ.ศ.2532. 5.เจริญศรี มังกรกาญจน์. โภชนาการ ใน: ดารณี ชุมนุมศิริวัฒน์, สมทรง เลขะกุล, บรรณาธิการ. ชีวเคมี คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล เล่ม2. กรุงเทพฯ: บริษัทพรประเสริฐ พริ้นติ้ง จำกัด, 2536. 6.วรนันท์ ศุภพิพัฒน์. อาหาร โภชนาการและสารเป็นพิษ. กรุงเทพฯ: แสงการพิมพ์, 2538. 7.Nutrition in Clinical Medicine,สาขาโภชนศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2553 : สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร 8.Cohn RM, Roth KS. Biochemistry and disease. Baltimore: Williams & Wilkins, 1996. 9.Linder MC. Nutritional biochemistry and metabolism with clinical application. 2nd ed. New Jersey : Prentice-Hall International Inc., 1991. 10.Mahan LK, Escott-Stump S. Krause’s food, nutrition & diet therapy. 9th ed. Philadelphia : W.B0Saunders Company, 1996.
2. ศ.พญ.จุฬาภรณ์รุ่งพิสุทธิพงษ์ หน่วยโภชนวทิยาและชีวเคมีทางการแพทย์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี , โภชนบำบัดในโรคไตและตับ , 1. National Kidney Foundation Kidney Disease Outcomes Quality Initiative: Clinical practice guidelines for nutrition in chronic renal failure. Am J Kidney Dis 35:S1-S140, 2000; available at http://www.kidney.org/professionals/kdogi/guidelines updates/doqi nut.html. 2. Owen WF, Jr., Lew NL, Liu Y, et al: The urea reduction ratio and serum albumin concentration as predictors of mortality in patients undergoing hemodialysis. N Engl J Med 329:1001-1006, 1993. 3. Klahr S, Levey AS, Beck GJ, et al: The effects of dietary protein restriction and bloodpressure control on the progression of chronic renal disease. N Engl J Med 330: 877-884, 1994. 4. Moore E, Celano J: Challenges of providing nutrition support in the outpatient dialysis setting. Nutr Clin Pract 20:202-212, 2005. 5. Kopple JD: Nutrition, diet and the kidney. In Shils ME, Shike M, Ross AC, (eds): Modern Nutrition in Health and Disease, 10th ed. Baltimore. Lippincott Williams & Wilkins, 2005. 6. American Association for the Study of Liver Diseases, http://www.aasld.org/
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง