แบรนด์
บทความ
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
เก้าอี้อาบน้ำ (Bath Chair)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยไขมันสูง (HyperLipidemia Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)
อุปกรณ์บริหารปอด (Respiratory Trainer)
อุปกรณ์วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Fingertip Oximeter)
อุปกรณ์ช่วยฟัง (Stethoscope)
อุปกรณ์บริหารและกายภาพบำบัด (Exercise & Physical Therapy)
สายสวนปัสสาวะ (Foley Balloon Catheter)
สายให้อาหารทางสายยาง (NG Tube, Feeding Tube)
ถุงให้อาหาร (Nutrition Bag)
ถุงปัสสาวะ (Urine Collection Bag)
ผ้ายืดสวมประคอง (Elastic Bandage)
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ( Corrugated Tube )
เทปแต่งแผล (Adhesive Tape roll)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
น้ำเกลือ (Normal Saline)
แปรงสีฟัน (Toothbrush)
เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ Anti-Bedsore Gel Cushion
หมอนป้องกันแผลกดทับ (Anti-Bedsore Pillow)
หมอนก-ข-ค (ก้น-ขา-คอ)
สเปรย์น้ำทะเล เจือจางพ่นหรือล้างจมูก
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยฟอกเลือด ล้างไต
อาหารโภชนบำบัด สำหรับผู้สูงอายุ (Nutrition Therapy Aging)
อาหารควบคุมน้ำหนัก (Nutrition for Weight Control)
อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอุดกั้น (COPD Nutrition)
สารอาหาร
วิตามินซี (Vitamin C)
สารสกัดจากเมล็ดองุ่น Grape Seed Extract
Gingko Biloba สารสกัดจากใบแปะก๊วย
วิตามินบี1 Vitamin B1-Thiamine
วิตามินบี6 Vitamin B6-PYRIDOXINE
วิตามินดี Vitamin D
โคเอนไซม์คิวเท็น Coenzyme Q10
Bioflavonoid (ไบโอฟลาโวนอยด์ -วิตามิน P)
แอล-กลูตาไธโอน (L - Glutathione)
แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine)
ไลซีน L-Lysine
แอล-อาร์จินีน (L-Arginine)
Collagen (คอลลาเจน)
ไลโคพีน Lycopene
น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว Rice Bran Oil
น้ำมันปลา Fish oil-Omega 3
วิตามินบี12 Vitamin B12-Cobalamin
น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส Evening Primrose Oil
อะเซโรลาเชอรี่ Acerola Cherry
อัลฟ่า-ไลโปอิก-แอซิด (Alpha Lipoic Acid)
แอสตร้าแซนทีน (Astaxantine)
พรอบพอริส (Propolis)
สารสกัดบิลเบอร์รี่ (Bilberry)
เบต้ากลูแคน (Beta-glucan)
ไบโอติน (Biotin)
สารสกัดแบล็คโคโฮช (Black Cohosh)
น้ำมันโบราจ Borage Oil
โบรอน Boron
บรีเวอร์ยีสต์ Brewer Yeast
สารสกัดต้นตะบองเพชร (Cactus)
Aquamin (อะควอมิน-แคลเซี่ยมจากสาหร่ายทะเล)
ไคโตซาน (Chitosan)
Chlorophyll (คลอโรฟิล)
โคลีน Choline
คอนโดรอิติน (Chondroitin)
โครเมี่ยม-พิโคลิเนต (Chromium picolinate)
สารสกัดจากอบเชย (Cinnamon Extract)
แครนเบอร์รี่ (Cranberry)
Curcumin
สารสกัดเอคไคเนเชีย (Echinesia)
ไฟเบอร์ (Fiber)
น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flax seed oil)
โฟลิก-แอซิด (Folic acid)
กรดไขมันแกมม่า ไลโนเลอิค แอซิดGamma Linoleic acid
สารสกัดส้มแขก (Garcinia Extract)
สารสกัดกระเทียม (Garlic Extract)
สารสกัดโสม (Ginseng Extract)
กลูโคซามีน Glucosamine
L-Glutamine (แอล กลูตามีน)
สารสกัดชาเขียว (Green tea extract)
สารสกัดหญ้าหางม้า (Horsetail extract)
เซนต์จอห์นเวิร์ต St’ John Wort (Hypericin)
อินโนซิทอล (Inositol)
เลซิติน (Lecithin-phosphatidylcholine)
แมกนีเซียม (Magnesium)
เมลาโทนิน (Melatonin)
เอ็นอะเซทิลซีสเตอีน N-Acetyl Cysteine (NAC)
วิตามินรวม (Multi-Vitamins)
Nicotinamide นิโคตินามายด์ (B3 Complex)
วิตามินบี3-ไนอาซิน (Vitamin B3-Niacin)
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
โปรไบโอติก (Probiotics)
พรีไบโอติก (Prebiotics)
สารสกัดจากเมล็ดฟักทอง (Pumpkin seed extract)
รอยัลเยลลี่ Royal Jelly
สารสกัดเซาพาเมตโต้ (Saw palmetto Extract)
ซีลีเนี่ยม (Selenium)
กระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)
สารสกัดดอกมิลค์ทิสเซิล (Silymarin extract)
ทีทรีออยล์ (Tea tree oil)
วาเลอเลียน (Valerian)
วิตามินอี (Vitamin E)
สารสกัดถั่วขาว (White Kidney Bean Extract)
ลูทีนและซีแซนทีน (Lutein,Zeaxanthin)
แร่ธาตุสังกะสี (Zinc)
กวาวเครือขาว (Pueraria Mirifica)
เอ็นไซม์ (Enzymes)
วิตามินเค (Vitamin K)
VitaminB5-Pantothenic acid (วิตามินบี 5 แพนโททีนิค แอซิด)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
น้ำมันเปปเปอร์มิ้นท์ Peppermint Oil
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
งาดำ Sesame
ข้าวยีสต์แดง Red Yeast Rice
สารสกัดถั่วเหลือง Isoflavone
สารสกัดทับทิม Promegranate
วิตามินบี2 -ไรโบเฟลวิน (Vitamin B2-Riboflavin)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
วิธีสั่งซื้อ
ผิวหนัง ของสิ่งมีชีวิตทั่วไปย่อมมีความแตกต่างกัน แต่ถ้าเลือกได้ทุกคนคงอยากมีผิวหนังที่แข็งแรง ไม่แพ้ง่ายไม่ว่าจะเป็นปัจจัยกระตุ้นรอบข้าง จากภายในหรือภายนอก จากสภาพแวดล้อมมลภาวะต่างๆ เพราะผิวหนังถือได้ว่าเป็นปราการด่านแรกที่ปกป้องเชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกาย แต่ถ้าเมื่อไหร่ผิวของเราไม่แข็งแรง ไม่ว่าจะเป็นผิวหน้าหรือผิวตัว จะส่งผลอย่างมากในการใช้ชีวิตประจำวัน ดังนั้นแล้วทุกคนจึงอยากมีผิวหนังที่แข็งแรงในทุกส่วนของร่างกายแล้วเราจะทำอย่างไรล่ะ ไปดูเนื้อหาที่สำคัญกันเลยดีกว่า
ผิวบอบบางแพ้ง่าย สามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของร่างกาย แต่เมื่อปัญหานี้เกิดขึ้นบนใบหน้าอาจเป็นจุดสนใจที่ทำให้คนอื่นสามารถสังเกตเห็นได้และทำให้เราสูญเสียความมั่นใจ ผิวบอบบางที่แพ้ง่ายเป็นปัญหาผิวที่เกิดจากเกราะป้องกันผิวมีความผิดปกติ ทำให้ผิวสูญเสียน้ำและสิ่งที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองสามารถเข้ามาทำร้ายผิว ซึ่งระดับความรุนแรงของอาการผิวบอบบางไวต่อการระคายเคืองนั้นอาจเพิ่มมากขึ้นหากโดนปัจจัยจากภายนอกอย่างแสงแดด หรือสารบางชนิดในเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิวเป็นตัวกระตุ้นเสริม เพราะฉะนั้นนอกจากการสังเกตุและหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้ผิวแพ้ง่าย แล้วการเลือกใช้สกินแคร์สำหรับผิวแพ้ง่ายโดยเฉพาะก็เป็นสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน
หลายคนที่ใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้าบางชนิดแล้วเกิดอาการระคายเคืองมักเข้าใจว่าตนเองมีผิวแพ้ง่าย แต่ในความเป็นจริงอาจเกิดจากการแพ้ส่วนประกอบตัวใดตัวหนึ่งเพียงตัวในผลิตภัณฑ์นั้น ๆ รวมถึงการใช้ผลิตภัณฑ์ในปริมาณที่มากเกินไปก็อาจทำให้เกิดการระคายเคืองได้ โดยวิธีสังเกตว่าตนเองมีผิวแพ้ง่ายหรือไม่ ทำได้ดังนี้
ผิวบอบบาง แพ้ง่าย สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกช่วงอายุ มักพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ในเด็กทารกและเมื่อเริ่มมีอายุ เพราะผิวเด็กทารกมีความหนาประมาณเศษ 1 ส่วน 5 ของผิวผู้ใหญ่ และเกราะป้องกันผิวยังไม่สามารถทำงานได้เต็มที่จึงทำให้เซนซิทิฟต่อสิ่งกระตุ้นได้ง่าย ส่วนผิวผู้ใหญ่นั้นเมื่ออายุมากขึ้น การทำงานของเกราะป้องกันผิวก็เริ่มเสื่อมสภาพลง ประกอบกับต้องเผชิญทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่เป็นสิ่งกระตุ้น จึงทำให้มีผลกระทบกับความสามารถของผิวในการป้องกันสิ่งที่ทำให้เกิดการระคายเคือง โดยปัจจัยภายในที่ส่งผลให้เกิดผิวบอบบางแพ้ง่าย ได้แก่
1. ความแตกต่างของผิวหน้ากับผิวส่วนอื่นๆ เนื่องจากผิวหน้าต้องเผชิญกับปัจจัยกระตุ้นจากภายนอกอยู่เสมอ และผิวหนังกำพร้าบนผิวหน้าเรามีความหนาเพียงแค่ 0.02 มิลลิเมตร เมื่อเปรียบเทียบกับหนังกำพร้าบริเวณอื่นๆ ของร่างกายที่มีความหนากว่าถึง 5 เท่า หรือประมาณ 0.1 มิลลิเมตร จึงทำให้ผิวหน้าเป็นบริเวณที่เกิดปัญหาผิวบอบบาง อ่อนแอ ไวต่อการระคายเคืองได้ง่าย เมื่อใดก็ตามที่เกราะป้องกันผิวอ่อนแอ ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่ จะส่งผลให้เกิดการสูญเสียน้ำและเปิดโอกาสให้ปัจจัยภายนอกเข้ามาทำร้ายผิว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดขึ้นที่ผิวหน้าแล้วอาการมักจะรุนแรงและเห็นได้ชัดเจน
2. ฮอร์โมนภายในร่างกาย จากการตั้งครรภ์ ในช่วงที่มีประจำเดือนหรือแม้แต่คนที่หมดประจำเดือนแล้ว ล้วนส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการปกป้องผิวจากการระคายเคืองได้เช่นกัน
3. ผิวที่เริ่มมีอายุ มีแนวโน้มที่จะมีความอ่อนไหวและผิวบอบบางมากกว่าปกติ เพราะชั้นหนังกำพร้าที่บางลงและเกราะไขมันป้องกันผิวผลิตได้น้อยลง ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่ สารสำคัญในชั้นผิว เช่น กรดไฮยาลูรอน โคเอนไซม์ คิวเทน มีปริมาณลดลง ทำให้ผิวขาดความชุ่มชื้นหรือเซลล์ผิวไม่สามารถสร้างเซลล์ผิวใหม่ได้ตามปกติ ทำให้เกิดปัญหาริ้วรอย เหี่ยวย่น ผิวแห้ง ผิวแดง หรือมีอาการคัน
4. สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง อากาศหนาวมาก ทำให้ผิวสูญเสียความชุ่มชื้นได้ง่ายในขณะที่อากาศร้อนทำให้เหงื่อที่ออกมาและระเหย ทำให้ผิวระคายเคืองได้ง่าย การอยู่ในห้องแอร์ตลอดทั้งวัน หรืออยู่ในที่ที่มีความชื้นต่ำก็สามารถทำให้เกิดอาการแพ้ได้เช่นกัน
5. รังสียูวีและมลภาวะ การที่ผิวหน้าต้องเผชิญกับแสงแดดหรือฝุ่น PM2.5 ก็ทำให้ผิวอยู่ในอาการเครียดและก่อให้เกิดอนุมูลอิสระที่เป็นตัวการทำร้ายผิวและทำให้เกราะป้องกันผิวอ่อนแอ
6. ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิว สารทำความสะอาดบางชนิดทำให้ไขมันธรรมชาติในผิวหายไป ส่วนน้ำหอม สี และแอลกอฮอล์ในผลิตภัณฑ์บางประเภทก็ทำให้ผิวระคายเคืองได้เช่นกัน
7. การทำทรีทเม้นท์ เคมิคอล พีล การทำหัตถการบนใบหน้าและการใช้สครับขัดผิวหน้า จะทำให้ฟิล์มไขมันบางๆ ที่ปกป้องผิวหลุดออก นอกจากนั้นยังทำร้ายชั้นบนของหนังแท้ด้วย ถึงแม้การทำทรีทเม้นท์ประเภทนี้อาจมีประโยชน์ในการผลัดเซลล์ผิวที่ตายแล้วและช่วยลดเลือนริ้วรอยบางๆ ได้บ้าง แต่ก็มีข้อเสียคือทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิว โดยเฉพาะผิวบอบบางที่แพ้ง่ายอยู่แล้วด้วย
ผู้มีผิวแพ้ง่ายควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดหน้า บำรุงผิวหน้า และเครื่องสำอางที่อ่อนโยนต่อผิว รวมถึงปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตเพื่อหลีกเลี่ยงปัจจัยที่อาจกระตุ้นให้ผิวหนังเกิดอาการแพ้หรือระคายเคือง ดังนี้
• ทดสอบอาการแพ้ทุกครั้งก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ทุกชนิด โดยทาบาง ๆ บริเวณข้อพับแขน ข้อมือ ท้องแขน หรือหลัง หลีกเลี่ยงไม่ให้ผิวหนังส่วนที่ทดสอบสัมผัสน้ำหรือเหงื่อประมาณ 48 ชั่วโมง หากเกิดผื่นแดงแสดงว่ามีอาการแพ้และไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
• หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีสารเจือปน เช่น น้ำหอม สี แอลกอฮอล์ และส่วนผสมบางชนิดที่อาจทำให้มีอาการแพ้ได้ง่าย เช่น เรตินอยด์ กรดอัลฟาไฮดรอกซี (Alpha-Hydroxy Acids: AHA) ทัลคัม (Talc) ไมกา (Mica) สารเคมีระงับกลิ่นกาย รวมถึงสารเคมีที่มีคุณสมบัติทำลายหรือยับยั้งแบคทีเรีย
• ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อผลัดเซลล์ผิว หากต้องการผลัดเซลล์ผิวควรทำภายใต้การดูแลของแพทย์
• หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องสำอาง ที่มีคุณสมบัติกันน้ำหรือมีสารกันเสียเป็นส่วนประกอบ
• ไม่ควรใช้เครื่องสำอางหรือผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุ เพราะอาจเกิดการกลายสภาพและเป็นอันตรายต่อผิวหนังและอาจส่งผลต่อผิวหนังในอนาคตได้
• หลีกเลี่ยงสภาพอากาศหนาวจัดหรือร้อนจัด โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาทางผิวหนัง เช่น ผื่นผิวหนังอักเสบ เพราะอาจทำให้อาการแพ้รุนแรงขึ้น
• หลีกเลี่ยงการออกกลางแจ้ง ในช่วงเวลา 9.00-14.00 น. เนื่องจากเป็นช่วงที่มีความเข้มของรังสียูวีค่อนข้างสูงและอาจจะส่งผลกระทบต่อสภาพผิวหนังในอนาคตได้อย่างมาก
• ควรรักษาความสะอาดอยู่สม่ำเสมอ หมั่นล้างและทำความสะอาดสิ่งของที่สัมผัสผิวหน้าเป็นประจำ เช่น อุปกรณ์แต่งหน้า ปลอกหมอน เป็นต้น เพราะเชื้อแบคทีเรียที่สะสมอยู่ตามสิ่งเหล่านี้อาจเป็นปัจจัยก่อให้เกิดสิวและปัญหาทางผิวหนังที่ส่งผลให้ผิวระคายเคืองง่าย
• ควรเลือกเสื้อผ้าที่เหมาะสม เช่น เลือกสวมเสื้อผ้าเนื้อบางเบา ไม่รัดรูป หรือผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ เช่น ผ้าฝ้าย เพื่อป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
• ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรอง จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เท่านั้น
• ใช้ผลิตภัณฑ์สำหรับผู้ที่มีผิวแพ้ง่ายโดยเฉพาะ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการทดสอบและได้รับการยืนยันว่าไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้
• ใช้ผลิตภัณฑ์สำหรับเพิ่มความชุ่มชื้น ให้ผิวเป็นประจำเพื่อป้องกันผิวแห้ง โดยควรเลือกที่ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติเป็นหลัก ปราศจากน้ำหอม สี และแอลกอฮอล์
• ทาครีมกันแดดที่มีค่าป้องกันแสงแดด หรือ SPF ตั้งแต่ 30 ขึ้นไปเป็นประจำ โดยเฉพาะก่อนออกแดด ควรเลือกครีมกันแดดสูตร Non-Chemical ที่มีส่วนผสมของซิงก์ออกไซด์ (Zinc Oxide) และไททาเนียมไดออกไซด์ (Titanium Dioxide) เป็นหลัก เนื่องจากสารทั้ง 2 ชนิดนี้จะไม่ซึมผ่านผิวหนัง ทำให้เสี่ยงเกิดการแพ้ได้น้อย
มีความเชื่อที่ว่าความชุ่มชื้นเป็นหนึ่งในปัจจัยพื้นฐานของผิวที่แข็งแรง ซึ่งเซราไมด์เป็นสารที่ช่วยกักเก็บความชุ่มชื้นภายในผิว และอาจช่วยป้องกันผิว ฟื้นฟูผิว และลดความเสียหายจากปัจจัยที่ก่อให้เกิดผิวระคายเคืองได้ มีการศึกษาที่เกี่ยวกับการใช้ครีมที่มีส่วนผสมของเซราไมด์ในผู้ที่เป็นโรคผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าหลังสัปดาห์สุดท้ายผู้ป่วยโรคนี้มีสภาพผิวโดยรวมที่ดีขึ้นโดยไม่พบผลข้างเคียงงานวิจัยหลายฉบับที่ศึกษาเกี่ยวกับเซราไมด์กับโรคผิวหนังอักเสบชนิดต่าง ๆ พบว่าเซราไมด์นั้นเป็นหนึ่งในสารสำคัญในการสร้างเกราะป้องกันที่ช่วยปกป้องผิวหนังชั้นนอก ลดอาการผิวแพ้ง่าย รวมถึงการใช้เซราไมด์ควบคู่ไปกับยาที่ใช้การรักษาโรคผิวหนังอักเสบบางชนิดอาจช่วยให้ผลการรักษานั้นดียิ่งขึ้น
นอกจากการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผสมเซราไมด์ที่อาจช่วยเสริมเกราะป้องกันผิวแล้ว ก็ยังควรให้ความสำคัญกับการควบคุมปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่มีผลต่อการสร้างเกราะป้องกันตามธรรมชาติให้กับผิว ซึ่งอาจทำได้ด้วยการดูแลตนเอง พักผ่อนให้เพียงพอ หรือการหลีกเลี่ยงการเผชิญมลภาวะต่าง ๆ และแม้ว่าเซราไมด์จะเป็นสารที่ปลอดภัย แต่การใช้ผลิตภัณฑ์ใด ๆ ก็ตามอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ จึงควรทดสอบผลิตภัณฑ์ก่อนใช้ทุกครั้ง โดยการทาผลิตภัณฑ์ลงบนท้องแขนและรอจนครบ 1 วัน หากเกิดอาการผิดปกติ อย่างผื่น แดง คัน หรือระคายเคือง แสดงว่าผลิตภัณฑ์อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
ผิวบอบบางและผิวแพ้ง่าย สามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของร่างกาย แต่เมื่อปัญหานี้เกิดขึ้นบนใบหน้าอาจเป็นจุดสนใจที่ทำให้คนอื่นสามารถสังเกตเห็นได้และทำให้เราสูญเสียความมั่นใจ ผิวบอบบางที่แพ้ง่ายเป็นปัญหาผิวที่เกิดจากเกราะป้องกันผิวมีความผิดปกติ ทำให้ผิวสูญเสียน้ำและสิ่งที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองสามารถเข้ามาทำร้ายผิวซึ่งระดับความรุนแรงของอาการผิวบอบบางไวต่อการระคายเคืองนั้นอาจเพิ่มมากขึ้นหากโดนปัจจัยจากภายนอกอย่างแสงแดด หรือสารบางชนิดในเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิวเป็นตัวกระตุ้นเสริม เพราะฉะนั้นนอกจากการสังเกตุและหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้ผิวแพ้ง่าย แล้วการเลือกใช้สกินแคร์สำหรับผิวแพ้ง่ายโดยเฉพาะก็เป็นสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน
ผิวของเราเป็นอวัยวะที่มีความมหัศจรรย์ ผิวสุขภาพดี คือ การมีเกราะปกป้องผิว (Skin barrier) ที่แข็งแรง โดยจะมีขั้นตอนการทำงานของส่วนต่างๆ ที่สลับซับซ้อนในการสร้างสมดุลในผิว เพื่อปกป้องผิวจากสิ่งเร้าและปัจจัยทำร้ายผิวจากภายนอก โดยมีเซลล์ผิวและไขมันที่อยู่ในชั้นผิวซึ่งทำหน้าที่ไม่ต่างกับอิฐและปูนที่เรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบเพื่อสร้างความมั่นคงและแข็งแรงให้กับโครงสร้างผิว ซึ่งหากเราไม่ดูแลจะทำให้เกราะปกป้องผิวอ่อนแอและส่งผลกระทบให้เกิด 4 ปัญหาผิว คือ ผิวแดง ผิวแห้งลอกเป็นขุย ผิวขาดน้ำ เป็นผดผื่นและไวต่อการระคายเคืองได้ง่าย และอาจมีปัญหาผิวอื่นๆ ตามมา
ผิวบอบบาง แพ้ง่าย สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกช่วงอายุ มักพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ในเด็กทารกและเมื่อเริ่มมีอายุเพราะผิวเด็กทารกมีความหนาประมาณเศษ 1 ส่วน 5 ของผิวผู้ใหญ่ และเกราะป้องกันผิวยังไม่สามารถทำงานได้เต็มที่จึงทำให้เซนซิทิฟต่อสิ่งกระตุ้นได้ง่าย ส่วนผิวผู้ใหญ่นั้นเมื่ออายุมากขึ้น การทำงานของเกราะป้องกันผิวก็เริ่มเสื่อมสภาพลง ประกอบกับต้องเผชิญทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่เป็นสิ่งกระตุ้น จึงทำให้มีผลกระทบกับความสามารถของผิวในการป้องกันสิ่งที่ทำให้เกิดการระคายเคือง โดยปัจจัยภายในที่ส่งผลให้เกิดผิวบอบบางแพ้ง่าย ได้แก่
✿ ความแตกต่างของผิวหน้ากับผิวส่วนอื่นๆ เนื่องจากผิวหน้าต้องเผชิญกับปัจจัยกระตุ้นจากภายนอกอยู่เสมอ และผิวหนังกำพร้าบนผิวหน้าเรามีความหนาเพียงแค่ 0.02 มิลลิเมตร เมื่อเปรียบเทียบกับหนังกำพร้าบริเวณอื่นๆ ของร่างกายที่มีความหนากว่าถึง 5 เท่า หรือประมาณ 0.1 มิลลิเมตร จึงทำให้ผิวหน้าเป็นบริเวณที่เกิดปัญหาผิวบอบบางอ่อนแอ ไวต่อการระคายเคืองได้ง่าย เมื่อใดก็ตามที่เกราะป้องกันผิวอ่อนแอ ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่ จะส่งผลให้เกิดการสูญเสียน้ำและเปิดโอกาสให้ปัจจัยภายนอกเข้ามาทำร้ายผิว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดขึ้นที่ผิวหน้าแล้วอาการมักจะรุนแรงและเห็นได้ชัดเจน
✿ ฮอร์โมนภายในร่างกาย จากการตั้งครรภ์ ในช่วงที่มีประจำเดือนหรือแม้แต่คนที่หมดประจำเดือนแล้ว ล้วนส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการปกป้องผิวจากการระคายเคืองได้เช่นกัน ผิวที่เริ่มมีอายุ มีแนวโน้มที่จะมีความอ่อนไหวและผิวบอบบางมากกว่าปกติ เพราะชั้นหนังกำพร้าที่บางลงและเกราะไขมันป้องกันผิวผลิตได้น้อยลง ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่ สารสำคัญในชั้นผิว เช่น กรดไฮยาลูรอน โคเอนไซม์ คิวเทน มีปริมาณลดลง ทำให้ผิวขาดความชุ่มชื้นหรือเซลล์ผิวไม่สามารถสร้างเซลล์ผิวใหม่ได้ตามปกติ ทำให้เกิดปัญหาริ้วรอย เหี่ยวย่น ผิวแห้ง ผิวแดง หรือมีอาการคัน
✿ สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง อากาศหนาวมาก ทำให้ผิวสูญเสียความชุ่มชื้นได้ง่ายในขณะที่อากาศร้อนทำให้เหงื่อที่ออกมาและระเหย ทำให้ผิวระคายเคืองได้ง่าย การอยู่ในห้องแอร์ตลอดทั้งวัน หรืออยู่ในที่ที่มีความชื้นต่ำก็สามารถทำให้เกิดอาการแพ้ได้เช่นกันรังสียูวีและมลภาวะ การที่ผิวหน้าต้องเผชิญกับแสงแดดหรือฝุ่น PM2.5 ก็ทำให้ผิวอยู่ในอาการเครียดและก่อให้เกิดอนุมูลอิสระที่เป็นตัวการทำร้ายผิวและทำให้เกราะป้องกันผิวอ่อนแอ
✿ ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิว สารทำความสะอาดบางชนิดทำให้ไขมันธรรมชาติในผิวหายไป ส่วนน้ำหอม สี และแอลกอฮอล์ในผลิตภัณฑ์บางประเภทก็ทำให้ผิวระคายเคืองได้เช่นกัน
ʕ·ᴥ·ʔ การปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ : ความเครียดและการนอนหลับไม่เพียงพอ เป็นอีกสองปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาการผิวแพ้ง่ายปะทุขึ้นมาได้ โดยบางครั้งเมื่อควบคู่กับการรับประทานอาหารที่ขาดคุณค่าทางโภชนาการและการดื่มน้ำไม่เพียงพอ ก็จะทำให้ผิวที่แห้ง ขาดน้ำ และระคายเคืองอยู่แล้วเกิดอาการแพ้ขึ้น การเลือกรับประทานอาหารที่มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ อย่างเช่น วิตามินเอ ซี และ อี น้ำมันในพืชและปลา สามารถช่วยให้ผิวมีสุขภาพดีได้
ʕ·ᴥ·ʔ ทาครีมกันแดดเป็นประจำ แม้ในวันที่เมฆครึ้ม ผิวหน้าของเราก็ยังคงต้องเจอกับรังสียูวี ดังนั้นการหมั่นทาครีมกันแดดจึงเป็นสิ่งสำคัญ และควรหลีกเลี่ยงการออกแดดระหว่างเวลา 11.00 - 15.00 น. ควรเลือกครีมกันแดดที่ปราศจากสารระคายเคืองผิว เช่น น้ำหอมบางประเภท
ʕ·ᴥ·ʔ ดูแลและฟื้นบำรุงผิวอ่อนแอ ผิวบอบบาง แพ้ง่ายเพราะถูกกระตุ้นจากปัจจัยต่างๆ ที่ทำร้ายผิว สกินแคร์บำรุงผิวที่ใช้ควรมีส่วนผสมของสารสำคัญที่มีประสิทธิภาพในการช่วยลดอาการแพ้และระคายเคืองของผิวได้ดี
นอกจากการดูแลสุขภาพจากภายในแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการทานอาหารในกลุ่มที่มีวิตามินเพียงพอต่อผิวพรรณ การทานอาหารให้ครบห้าหมู่ ดื่มน้ำให้พอ พักผ่อนให้เต็มอิ่มในแต่ละวันแล้วนั้น การปลอบประโลมผิว หรือที่เรียกว่าการดูแลภายนอก เช่นการทาครีม และการทายารักษาบางชนิด ยากกว่าคือ จะเลือกครีมอย่างไร ให้เหมาะสมกับสภาพผิวหนังของแต่ละคนสำคัญอย่างยิ่ง ยิ่งเป็นเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์ หรือไม่มีการการันตีและเป็นที่ยอมรับแล้วนั้นจะส่งผลเสียคูณทวีเพิ่มขึ้นอีกหลายเท่า
ดังนั้นแล้ว ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวควรเลือกที่เป็นการยอมรับอย่างแพร่หลาย และมีการวิจัยจากผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนัง และได้การยอมรับจากโรงพยาบาลชั้นนำทั่วโลก
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง