แบรนด์
บทความ
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
เก้าอี้อาบน้ำ (Bath Chair)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยไขมันสูง (HyperLipidemia Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)
อุปกรณ์บริหารปอด (Respiratory Trainer)
อุปกรณ์วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Fingertip Oximeter)
อุปกรณ์ช่วยฟัง (Stethoscope)
อุปกรณ์บริหารและกายภาพบำบัด (Exercise & Physical Therapy)
สายสวนปัสสาวะ (Foley Balloon Catheter)
สายให้อาหารทางสายยาง (NG Tube, Feeding Tube)
ถุงให้อาหาร (Nutrition Bag)
ถุงปัสสาวะ (Urine Collection Bag)
ผ้ายืดสวมประคอง (Elastic Bandage)
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ( Corrugated Tube )
เทปแต่งแผล (Adhesive Tape roll)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
น้ำเกลือ (Normal Saline)
แปรงสีฟัน (Toothbrush)
เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ Anti-Bedsore Gel Cushion
หมอนป้องกันแผลกดทับ (Anti-Bedsore Pillow)
หมอนก-ข-ค (ก้น-ขา-คอ)
สเปรย์น้ำทะเล เจือจางพ่นหรือล้างจมูก
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยฟอกเลือด ล้างไต
อาหารโภชนบำบัด สำหรับผู้สูงอายุ (Nutrition Therapy Aging)
อาหารควบคุมน้ำหนัก (Nutrition for Weight Control)
อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอุดกั้น (COPD Nutrition)
สารอาหาร
วิตามินซี (Vitamin C)
สารสกัดจากเมล็ดองุ่น Grape Seed Extract
Gingko Biloba สารสกัดจากใบแปะก๊วย
วิตามินบี1 Vitamin B1-Thiamine
วิตามินบี6 Vitamin B6-PYRIDOXINE
วิตามินดี Vitamin D
โคเอนไซม์คิวเท็น Coenzyme Q10
Bioflavonoid (ไบโอฟลาโวนอยด์ -วิตามิน P)
แอล-กลูตาไธโอน (L - Glutathione)
แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine)
ไลซีน L-Lysine
แอล-อาร์จินีน (L-Arginine)
Collagen (คอลลาเจน)
ไลโคพีน Lycopene
น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว Rice Bran Oil
น้ำมันปลา Fish oil-Omega 3
วิตามินบี12 Vitamin B12-Cobalamin
น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส Evening Primrose Oil
อะเซโรลาเชอรี่ Acerola Cherry
อัลฟ่า-ไลโปอิก-แอซิด (Alpha Lipoic Acid)
แอสตร้าแซนทีน (Astaxantine)
พรอบพอริส (Propolis)
สารสกัดบิลเบอร์รี่ (Bilberry)
เบต้ากลูแคน (Beta-glucan)
ไบโอติน (Biotin)
สารสกัดแบล็คโคโฮช (Black Cohosh)
น้ำมันโบราจ Borage Oil
โบรอน Boron
บรีเวอร์ยีสต์ Brewer Yeast
สารสกัดต้นตะบองเพชร (Cactus)
Aquamin (อะควอมิน-แคลเซี่ยมจากสาหร่ายทะเล)
ไคโตซาน (Chitosan)
Chlorophyll (คลอโรฟิล)
โคลีน Choline
คอนโดรอิติน (Chondroitin)
โครเมี่ยม-พิโคลิเนต (Chromium picolinate)
สารสกัดจากอบเชย (Cinnamon Extract)
แครนเบอร์รี่ (Cranberry)
Curcumin
สารสกัดเอคไคเนเชีย (Echinesia)
ไฟเบอร์ (Fiber)
น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flax seed oil)
โฟลิก-แอซิด (Folic acid)
กรดไขมันแกมม่า ไลโนเลอิค แอซิดGamma Linoleic acid
สารสกัดส้มแขก (Garcinia Extract)
สารสกัดกระเทียม (Garlic Extract)
สารสกัดโสม (Ginseng Extract)
กลูโคซามีน Glucosamine
L-Glutamine (แอล กลูตามีน)
สารสกัดชาเขียว (Green tea extract)
สารสกัดหญ้าหางม้า (Horsetail extract)
เซนต์จอห์นเวิร์ต St’ John Wort (Hypericin)
อินโนซิทอล (Inositol)
เลซิติน (Lecithin-phosphatidylcholine)
แมกนีเซียม (Magnesium)
เมลาโทนิน (Melatonin)
เอ็นอะเซทิลซีสเตอีน N-Acetyl Cysteine (NAC)
วิตามินรวม (Multi-Vitamins)
Nicotinamide นิโคตินามายด์ (B3 Complex)
วิตามินบี3-ไนอาซิน (Vitamin B3-Niacin)
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
โปรไบโอติก (Probiotics)
พรีไบโอติก (Prebiotics)
สารสกัดจากเมล็ดฟักทอง (Pumpkin seed extract)
รอยัลเยลลี่ Royal Jelly
สารสกัดเซาพาเมตโต้ (Saw palmetto Extract)
ซีลีเนี่ยม (Selenium)
กระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)
สารสกัดดอกมิลค์ทิสเซิล (Silymarin extract)
ทีทรีออยล์ (Tea tree oil)
วาเลอเลียน (Valerian)
วิตามินอี (Vitamin E)
สารสกัดถั่วขาว (White Kidney Bean Extract)
ลูทีนและซีแซนทีน (Lutein,Zeaxanthin)
แร่ธาตุสังกะสี (Zinc)
กวาวเครือขาว (Pueraria Mirifica)
เอ็นไซม์ (Enzymes)
วิตามินเค (Vitamin K)
VitaminB5-Pantothenic acid (วิตามินบี 5 แพนโททีนิค แอซิด)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
น้ำมันเปปเปอร์มิ้นท์ Peppermint Oil
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
งาดำ Sesame
ข้าวยีสต์แดง Red Yeast Rice
สารสกัดถั่วเหลือง Isoflavone
สารสกัดทับทิม Promegranate
วิตามินบี2 -ไรโบเฟลวิน (Vitamin B2-Riboflavin)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
วิธีสั่งซื้อ
อุปกรณ์ช่วยฟังหรือเครื่องช่วยฟัง (Stethoscope) คือ เครื่องขยายเสียงขนาดเล็กที่สามารถใส่ติดไว้ที่หู เพื่อทำหน้าที่ขยายเสียง จากภายนอกทำให้ผู้ฟังรับรู้เสียงได้ดีขึ้น เครื่องช่วยฟังถือเป็นอุปกรณ์ช่วยการได้ยิน (Hearing devices) ชนิดหนึ่งสำหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ทำให้การรับฟังเสียงดีขึ้น สามารถโต้ตอบสื่อความหมายด้วยการฟังและการพูด ดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้เช่นเดียวกับคนทั่วไปในสังคม
✿ เครื่องช่วยการรับรู้ด้วยการสั่นสะเทือน (Vibro-tactile hearing aid) สำหรับผู้ที่สูญเสียการได้ยินอย่างมากจนไม่สามารถรับรู้ด้วยการได้ยินโดยเฉพาะผู้ที่หูพิการและมีปัญหาทางสายตา(หูหนวก-ตาบอด) เครื่องจะแปลงสัญญานเสียงให้เป็นความรู้สึกสั่นสะเทือนแทน ผู้ใช้จะต้องฝึกฝนการรับรู้ เพราะข้อมูลที่ได้มีความจำกัด โดยเฉพาะ น้ำเสียงและวรรณยุกต์ ในปัจจุบันไม่ค่อยนิยมใช้ เนื่องจากมีเทคโนโลยีของการผ่าตัดหูชั้นในเทียม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยรับรู้เสียงได้ดีกว่า
✿ การผ่าตัดหูชั้นในเทียม (Cochlear Implant) เป็นเครื่องช่วยการได้ยินอีกชนิดหนึ่งซึ่งจะต้องอาศัยการผ่าตัดเพื่อฝังอุปกรณ์เข้าไปในอวัยวะรับเสียงในหูของผู้ป่วยหูพิการซึ่งไม่สามารถได้รับประโยชน์จากการใช้เครื่องช่วยฟัง อุปกรณ์ดังกล่าวจะแปลงสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าในระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ แต่จะสามารถกระตุ้นเซลล์ขนภายในอวัยวะรับเสียงให้สามารถทำหน้าที่ได้ดีขึ้น หลังจากทำการผ่าตัดฝังอุปกรณ์แล้ว ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพการฟัง และการพูดโดยเฉพาะในเด็กที่หูพิการแต่กำเนิด เนื่องจากเสียงที่ผู้ป่วยได้ยินจะไม่เหมือนกับที่คนปกติรับรู้ อย่างไรก็ตามวิธีการนี้กำลังเป็นที่สนใจของนักวิชาการและผู้ป่วยที่หูหนวก เพราะจะช่วยให้ผู้ป่วยกลับมาได้ยินอีกครั้ง สำหรับเด็ก ก็จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาและการพูด สามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติได้โดยไม่ต้องใช้ภาษามือ หากได้รับการผ่าตัดและการฟื้นฟูที่ถูกต้อง เหมาะสม
✿ เครื่องกลบเสียงรบกวน (Tinnitus masker) เป็นเครื่องที่ปล่อยเสียงรบกวนที่คลื่นความถี่เฉพาะเพื่อกลบเสียงรบกวนในผู้ป่วยซึ่งประสบกับปัญหาเสียงรบกวนในหูตลอดเวลาในขณะที่มีการได้ยินปกติ แต่จะไม่มีการขยายเสียง ลักษณะของตัวเครื่องจะเหมือนกับเครื่องช่วยฟังแบบใส่ในช่องหู
เครื่องช่วยการได้ยิน แต่ละแบบจะมีหลักการในการใช้งานแตกต่างกัน ถึงแม้จะมีจุดประสงค์ในการช่วยให้ผู้ป่วยหูพิการได้ยินดีหรือรับรู้ได้ขึ้นเหมือนกัน แต่ก็ต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย เครื่องช่วยความพิการที่ใช้กันมากคือ เครื่องช่วยฟัง
การใช้เครื่องช่วยฟังให้เกิดผลดีสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย ควรอยู่ในความดูแลของโสตแพทย์และนักโสตสัมผัสวิทยา เนื่องจากสาเหตุของการสูญเสียการได้ยินในผู้ป่วยแตกต่างกันไป บางรายสามารถรักษาหรือแก้ไขได้ด้วยการให้ยาหรือการผ่าตัด อาจไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟัง นอกจากนั้น คุณสมบัติและรายละเอียดของเครื่องช่วยฟังที่มีอยู่ในปัจจุบันมีมากมายหลายอย่าง ซึ่งผู้ป่วยควรทราบเพื่อประกอบการตัดสินใจ มิฉะนั้น ผู้ป่วยอาจไม่ได้รับประโยชน์จากการใช้เครื่องช่วยฟังเท่าที่ควรหรืออาจเป็นอันตรายทำให้สูญเสียการได้ยินมากขึ้น ผู้ป่วยที่จะได้รับประโยชน์จากเครื่องช่วยฟังควรมีคุณสมบัติดังนี้
1. เครื่องช่วยฟังแบบพกกระเป๋า (Pocket aid ) เครื่องชนิดนี้มีขนาดใหญ่ ผู้ใช้มักเหน็บตัวเครื่องไว้ที่กระเป๋า มีสายต่อจากตัวเครื่องเข้าสู่หูฟัง
ข้อดี :
✿ เครื่องมีขนาดใหญ่ จับเหมาะมือ ปรับง่าย เหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
✿ ราคาถูก หากการสูญเสียการได้ยิน2 ข้างเท่ากันสามารถใช้เครื่องเดียว โดยต่อสายแยกเข้าสองหู
✿ มีกำลังขยายมาก เหมาะสำหรับผู้ที่สูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรง
✿ แบตเตอรี่หาซื้อง่าย
ข้อเสีย :
✿ ต้องมีสาย รุงรัง จำกัดการเคลื่อนไหว
✿ การฟังเสียงไม่เป็นธรรมชาติ เนื่องจาก ไมโครโฟนรับเสียงอยู่ที่บริเวณหน้าอก ไม่
✿ สามารถแยกทิศทางของเสียงได้ บางครั้งมีเสียงเครื่องเสียดสีกับเสื้อผ้าอีกด้วย
✿ ทำให้เห็นความพิการได้ชัดเจน
2. เครื่องแบบทัดหลังใบหู (Behind the ear hearing aid) ( Earette) เครื่องชนิดนี้มีขนาดเล็ก
ตัวเครื่องเรียวโค้งเกาะอยู่ที่บริเวณหลังหู
ข้อดี :
✿ การฟังเสียงเป็นธรรมชาติ เพราะไมโครโฟนอยู่ที่บริเวณหู
✿ ไม่เกะกะรุงรัง เพราะไม่ต้องมีสาย
✿ สามารถใช้กับผู้ที่สูญเสียการได้ยินน้อยจนถึงสูญเสียการได้ยินรุนแรง
ข้อเสีย :
✿ ผู้ป่วยต้องคลำหาปุ่มซึ่งมีขนาดเล็ก หากต้องการปรับระดับเสียง
✿ ค่าใช้จ่ายสูงกว่า หากหูเสียทั้ง 2 ข้าง ต้องใส่ 2 เครื่อง
✿ ต้องใช้แบตเตอรี่เฉพาะของเครื่องช่วยฟัง ( ขนาด 1.4 โวลท์ )
3.เครื่องชนิดสั่งทำขนาดเล็กใส่ในหู ( Custom- made hearing aid ) แบ่งเป็น 3 ขนิด ได้แก่
In The Ear hearing aid ( ITE )
In The Canal hearing aid ( ITC)
Complete In the Canal hearing aid (CIC)
ข้อดี :
✿ การฟังเสียงยิ่งเป็นธรรมชาติ เพราะไมโครโฟนอยู่ในหู
✿ เห็นความพิการน้อยลง โดยเฉพาะ CIC แทบจะไม่เห็นเลย
ข้อเสีย :
✿ เครื่องมีขนาดเล็ก ปรับยาก
✿ ต้องสั่งทำเฉพาะบุคคล ราคาสูง
✿ ใช้ได้เฉพาะผู้ที่มีการสูญเสียการได้ยินไม่มาก ( < 70 dB)
✿ ต้องใช้แบตเตอรี่เฉพาะของเครื่องช่วยฟัง (ขนาด 1.4 โวลท์ )
4. เครื่องช่วยฟังชนิดแว่นตา (Eyeglasses hearing aid) ในปัจจุบันไม่มีการใช้ เนื่องจาก ราคาแพง การประกอบเครื่องยุ่งยากต้องประสานงานกับร้านแว่น หากเครื่องชำรุดต้องส่งซ่อมทั้งชุด
5. เครื่องช่วยฟังแบบรับเสียงข้ามหู ( Contralateral Routing Of Signal ) ( CROS hearing aid) สำหรับผู้ที่หูหนวกข้างหนึ่ง อีกข้างหนึ่งปกติ ซึ่งจะมีปัญหาในการแยกทิศทางของเสียง การใส่เครื่องช่วยฟังในข้างหูหนวกจะไม่เกิดประโยชน์เพราะเครื่องช่วยฟังมีกำลังขยายที่จำกัด ดังนั้น การใส่ไมโครโฟนติดไว้ที่หูข้างหนวก เพื่อดักเสียงจากหูข้างนั้น แล้วส่งต่อไปที่หูข้างปกติ ทำให้รับรู้ที่มาของเสียงนั้นได้ ลักษณะของเสียงจากหูข้างเสียจะเป็นเสียงที่ผ่านไมโครโฟนในขณะที่หูข้างปกติจะได้ยินเสียงที่เป็นธรรมชาติ
จะเห็นได้ว่า เครื่องช่วยฟังมีหลายแบบ แต่ละแบบมีข้อดี - ข้อเสียแตกต่างกัน และในปัจจุบันมีการนำระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ ระบบดิจิตอล มาใช้เพื่อให้คุณภาพของเสียงดียิ่งขึ้น ทำให้ราคาของเครื่องช่วยฟังแตกต่างกันอย่างมากตั้งแต่ 5,000 - 60,000 บาท อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยินควรได้รับคำแนะนำจากนักโสตสัมผัสวิทยา เพื่อรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับภาวะการสูญเสียการได้ยินของแต่ละคน ความเหมาะสมในการเลือกแบบของเครื่องช่วยฟัง ซึ่งจะต้องผ่านการประเมินการใช้เครื่องที่ถูกต้องตามมาตรฐาน เพื่อให้แน่ใจว่าเครื่องช่วยฟังนั้นเหมาะกับแต่ละคน รวมทั้งการเรียนรู้การใช้ การดูแลรักษาเครื่อง การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเมื่อเครื่องขัดข้อง และการติดตามผลการใช้เครื่องเป็นระยะๆ เพราะเครื่องช่วยฟังมิได้รักษาโรคหู เป็นเพียงช่วยให้ท่านรับฟังเสียงได้ดีขึ้นเท่านั้น โรคหูที่เป็นสาเหตุของการสูญเสียการได้ยินบางอย่างไม่สามารถรักษาได้ หรือในขณะใช้เครื่องอาจเกิดโรคหูอย่างอื่นแทรกซ้อน อาจจะทำให้หูเสียมากขึ้น ความสามารถในการฟังเสียงลดลง อาจต้องพบแพทย์เพื่อพิจารณารักษาหรือทำการปรับเครื่องใหม่ให้เหมาะกับการสูญเสียการได้ยินที่เปลี่ยนไป
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง