แบรนด์
บทความ
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
เก้าอี้อาบน้ำ (Bath Chair)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยไขมันสูง (HyperLipidemia Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์วัดความเค็มในอาหาร (Salinity)
อุปกรณ์บริหารปอด (Respiratory Trainer)
อุปกรณ์วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Fingertip Oximeter)
อุปกรณ์ช่วยฟัง (Stethoscope)
อุปกรณ์บริหารและกายภาพบำบัด (Exercise & Physical Therapy)
สายสวนปัสสาวะ (Foley Balloon Catheter)
สายให้อาหารทางสายยาง (NG Tube, Feeding Tube)
ถุงให้อาหาร (Nutrition Bag)
ถุงปัสสาวะ (Urine Collection Bag)
ผ้ายืดสวมประคอง (Elastic Bandage)
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ( Corrugated Tube )
เทปแต่งแผล (Adhesive Tape roll)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
น้ำเกลือ (Normal Saline)
แปรงสีฟัน (Toothbrush)
เบาะเจลป้องกันแผลกดทับ Anti-Bedsore Gel Cushion
หมอนป้องกันแผลกดทับ (Anti-Bedsore Pillow)
หมอนก-ข-ค (ก้น-ขา-คอ)
สเปรย์น้ำทะเล เจือจางพ่นหรือล้างจมูก
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยฟอกเลือด ล้างไต
อาหารโภชนบำบัด สำหรับผู้สูงอายุ (Nutrition Therapy Aging)
อาหารควบคุมน้ำหนัก (Nutrition for Weight Control)
อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอุดกั้น (COPD Nutrition)
สารอาหาร
วิตามินซี (Vitamin C)
สารสกัดจากเมล็ดองุ่น Grape Seed Extract
Gingko Biloba สารสกัดจากใบแปะก๊วย
วิตามินบี1 Vitamin B1-Thiamine
วิตามินบี6 Vitamin B6-PYRIDOXINE
วิตามินดี Vitamin D
โคเอนไซม์คิวเท็น Coenzyme Q10
Bioflavonoid (ไบโอฟลาโวนอยด์ -วิตามิน P)
แอล-กลูตาไธโอน (L - Glutathione)
แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine)
ไลซีน L-Lysine
แอล-อาร์จินีน (L-Arginine)
Collagen (คอลลาเจน)
ไลโคพีน Lycopene
น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว Rice Bran Oil
น้ำมันปลา Fish oil-Omega 3
วิตามินบี12 Vitamin B12-Cobalamin
น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส Evening Primrose Oil
อะเซโรลาเชอรี่ Acerola Cherry
อัลฟ่า-ไลโปอิก-แอซิด (Alpha Lipoic Acid)
แอสตร้าแซนทีน (Astaxantine)
พรอบพอริส (Propolis)
สารสกัดบิลเบอร์รี่ (Bilberry)
เบต้ากลูแคน (Beta-glucan)
ไบโอติน (Biotin)
สารสกัดแบล็คโคโฮช (Black Cohosh)
น้ำมันโบราจ Borage Oil
โบรอน Boron
บรีเวอร์ยีสต์ Brewer Yeast
สารสกัดต้นตะบองเพชร (Cactus)
Aquamin (อะควอมิน-แคลเซี่ยมจากสาหร่ายทะเล)
ไคโตซาน (Chitosan)
Chlorophyll (คลอโรฟิล)
โคลีน Choline
คอนโดรอิติน (Chondroitin)
โครเมี่ยม-พิโคลิเนต (Chromium picolinate)
สารสกัดจากอบเชย (Cinnamon Extract)
แครนเบอร์รี่ (Cranberry)
Curcumin
สารสกัดเอคไคเนเชีย (Echinesia)
ไฟเบอร์ (Fiber)
น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flax seed oil)
โฟลิก-แอซิด (Folic acid)
กรดไขมันแกมม่า ไลโนเลอิค แอซิดGamma Linoleic acid
สารสกัดส้มแขก (Garcinia Extract)
สารสกัดกระเทียม (Garlic Extract)
สารสกัดโสม (Ginseng Extract)
กลูโคซามีน Glucosamine
L-Glutamine (แอล กลูตามีน)
สารสกัดชาเขียว (Green tea extract)
สารสกัดหญ้าหางม้า (Horsetail extract)
เซนต์จอห์นเวิร์ต St’ John Wort (Hypericin)
อินโนซิทอล (Inositol)
เลซิติน (Lecithin-phosphatidylcholine)
แมกนีเซียม (Magnesium)
เมลาโทนิน (Melatonin)
เอ็นอะเซทิลซีสเตอีน N-Acetyl Cysteine (NAC)
วิตามินรวม (Multi-Vitamins)
Nicotinamide นิโคตินามายด์ (B3 Complex)
วิตามินบี3-ไนอาซิน (Vitamin B3-Niacin)
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
โปรไบโอติก (Probiotics)
พรีไบโอติก (Prebiotics)
สารสกัดจากเมล็ดฟักทอง (Pumpkin seed extract)
รอยัลเยลลี่ Royal Jelly
สารสกัดเซาพาเมตโต้ (Saw palmetto Extract)
ซีลีเนี่ยม (Selenium)
กระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)
สารสกัดดอกมิลค์ทิสเซิล (Silymarin extract)
ทีทรีออยล์ (Tea tree oil)
วาเลอเลียน (Valerian)
วิตามินอี (Vitamin E)
สารสกัดถั่วขาว (White Kidney Bean Extract)
ลูทีนและซีแซนทีน (Lutein,Zeaxanthin)
แร่ธาตุสังกะสี (Zinc)
กวาวเครือขาว (Pueraria Mirifica)
เอ็นไซม์ (Enzymes)
วิตามินเค (Vitamin K)
VitaminB5-Pantothenic acid (วิตามินบี 5 แพนโททีนิค แอซิด)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
น้ำมันเปปเปอร์มิ้นท์ Peppermint Oil
ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
งาดำ Sesame
ข้าวยีสต์แดง Red Yeast Rice
สารสกัดถั่วเหลือง Isoflavone
สารสกัดทับทิม Promegranate
วิตามินบี2 -ไรโบเฟลวิน (Vitamin B2-Riboflavin)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
วิธีสั่งซื้อ
ชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ (Corrugated tube) คือ ท่อที่ใส่เข้าไปในหลอดลมคอ (trachea) ภายหลังการเจาะคอ (tracheostomy) โดยใส่ผ่านผิวหนังและกล้ามเนื้อคอ เพื่อให้อากาศสามารถผ่านเข้าสู่หลอดลมและปอดโดยไม่ต้องผ่านช่องจมูกและลำคอส่วนบน และยังเป็นทางให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะออกจากหลอดลม หรือดูดเสมหะออกจากหลอดลมได้
เป็นท่อโค้ง 2 ชั้น ประกอบด้วย
สวมซ้อนกัน สามารถถอดแยกออกจากกันได้ ท่อชั้นในสามารถถอด และล้างเสมหะออกได้ เพื่อป้องกันการอุดตันของเสมหะ เมื่อต้องใส่ระยะยาว
ชนิดของชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ ท่อหลอดลมคอ
ท่อหลอดลมคอแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่
1.) ภายหลังการเจาะคอ จะมีเสมหะ หรือเมือกเหลวออกมา ทำให้หายใจไม่สะดวก ต้องดูดออกโดยใช้ลูกยางแดงที่ผ่านการล้างทำความสะอาดแล้ว โดยทั่วไป ถ้าเป็นเด็ก อาจเลือกลูกยางแดงเบอร์ 1 หรือ 2 ถ้าเป็นผู้ใหญ่ ควรเลือกลูกยางแดงเบอร์ 3 บีบลมออกจากลูกยางแดงจนแบน แล้วใส่ปลายลูกยางแดงเข้าไปในหลอดลมคอให้ลึกประมาณ 1 นิ้ว ปล่อยมือที่บีบลูกยางแดงออก พร้อมกับให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะออกมา ลูกยางแดงที่ใช้แล้ว ควรทำความสะอาดด้วยน้ำสะอาด กับสบู่, น้ำยาล้างจาน หรือผงซักฟอก หลังจากนั้นนำมาล้างและดูดล้างภายในด้วยน้ำร้อนจัด ไม่ควรดูดเสมหะภายหลังรับประทานอาหารทันที เพื่อป้องกันการอาเจียน ถ้ามีการสำลัก หรืออาเจียน ให้ใช้ลูกยางแดงดูดเศษอาหาร หรือน้ำลายออกจากท่อหลอดลมคอทันทีจนหมด
2.) การป้องกันเสมหะอุดตันในท่อหลอดลมคอ
✿ ถอดหลอดลมคอชั้นใน (inner tube) ออกล้างทำความสะอาดทุก 4-6 ชั่วโมง หรืออย่างน้อยวันละ 2-3 ครั้ง ขึ้นกับว่ามีเสมหะมาก หรือเหนียว หรือไม่ และควรถอดออกล้างทุกครั้งที่รู้สึกหายใจไม่สะดวก ภายหลังทำความสะอาดท่อหลอดลมคอชั้นในเสร็จแล้ว จะต้องนำมาใส่ให้กับผู้ป่วยทันที เพราะการถอดท่อหลอดลมคอชั้นในทิ้งไว้นานๆ ทำให้เสมหะแห้งกรัง อุดตันปลายท่อหลอดลมคอชั้นนอก จนทำให้ใส่ท่อหลอดลมคอชั้นในกลับลำบาก และเป็นสาเหตุของการหายใจไม่สะดวก
✿ ดื่มน้ำอุ่นๆ วันละ 8-10 แก้ว ในผู้ใหญ่ และ 4-6 แก้วในเด็ก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว และขับออกมาได้ง่าย
✿ รับประทานยาละลายเสมหะ หรือขับเสมหะตามแพทย์สั่ง
3.) ควรทำความสะอาดแผลเจาะคอ หมั่นเปลี่ยนผ้าก๊อตรองแผล เมื่อมีสิ่งคัดหลั่งออกจากแผลจำนวนมาก ทำให้เปียกแฉะ เปื้อนหรือสกปรก หรือภายหลังอาบน้ำ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
4.) บริหารการหายใจเพื่อให้ปอดขยายตัว จะได้มีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนมากขึ้น โดยทำวันละหลายๆ ครั้ง ดังนี้
✿ นอนหงายราบ ชันเข่าทั้งสองข้างขึ้น หายใจเข้าลึกๆ เต็มที่จนท้องโป่งและกลั้นหายใจไว้ประมาณ 3 วินาที
✿ หายใจออกทางปากช้าๆ ทำปากห่อคล้ายผิวปาก เพื่อให้อากาศออกจากปอดมากที่สุด
✿ ทำบ่อยๆ ประมาณ 8-10 ครั้ง/ ทุก 2 ชั่วโมง
5.) ไออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยขับเสมหะออกจากหลอดลมและปอด ทำวันละหลายๆ ครั้ง ดังนี้
✿ นั่งในท่าโน้มตัวไปข้างหน้า หรือครึ่งนั่ง ครึ่งนอน
✿ ก่อนไอ หายใจเข้า
✿ ออกลึกๆ ประมาณ 4-5 ครั้ง สูดลมหายใจเข้าเต็มที่ กลั้นไว้แล้วหายใจออกพร้อมกับไอแรงๆ 2-3 ครั้ง
6.) ภายหลังการเจาะคอ ผู้ป่วยจะไม่มีเสียงพูดเหมือนปกติ ดังนั้นเมื่อต้องการสื่อสารกับผู้อื่น สามารถทำได้ดังนี้
✿ เขียนบอกในกระดาษ
✿ ผู้ป่วยสามารถออกเสียง หรือพูดเป็นประโยคสั้นๆโดยใช้นิ้วมืออุดรูท่อหลอดลมคอไว้ขณะพูดหรือสื่อสาร เป็นระยะเวลาช่วงสั้นๆ ให้มีเสียงเปล่งเป็นคำๆ ออกมา แต่อาจไม่สามารถพูดคุยตามปกติได้นาน หรือเป็นประโยค เพราะต้องเปิดท่อบ้างเพื่อรับอากาศหายใจ
✿ ใช้ภาษามือ ประกอบการใช้ริมฝีปากเวลาพูด
หากหมดสาเหตุของโรคแล้ว สามารถหายใจได้ทางจมูก ก็จะพูดได้ตามปกติ ยกเว้นในผู้ป่วยโรคมะเร็งกล่องเสียง ที่มีการตัดกล่องเสียงออก หรือผู้ป่วยที่หลอดลมส่วนบนตีบสนิท
7.) ควรใช้ผ้าบางๆ หรือผ้าเช็ดหน้าปิดคอ หรือพันคอไว้ เมื่อออกจากบ้าน หรือในขณะที่เด็กดูดนมและรับประทานอาหาร เพื่อป้องกันแมลง ฝุ่นละออง เศษอาหารหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าท่อหลอดลมคอ และควรหลีกเลี่ยงการใช้แป้งฝุ่น
8.) ควรดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบทุกประเภท รวมทั้งผักและผลไม้ (ครบ 5 หมู่) หลีกเลี่ยงการอยู่ในสิ่งแวดล้อม หรือชุมชนที่แออัด มีฝุ่นละออง ควัน สารเคมี มลพิษ ที่ซึ่งมีอากาศเย็น หรือแห้งจัด ควรดูแลร่างกายให้อบอุ่น หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอากาศอย่างรวดเร็ว ควรอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทสะดวก ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอทุกวัน หรือเล่นกีฬาเป็นประจำ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อยวันละ 6 - 8 ชั่วโมง อย่าอดนอน พยายามอยู่ห่างจากผู้ที่ไม่สบาย
9.) ควรแปรงฟันหรือกลั้วคอ ก่อนและหลังรับประทานอาหาร และพบทันตแพทย์ เพื่อตรวจสภาพฟัน และรับการรักษาทุก 6 เดือน เนื่องจากการที่มีสุขภาพฟันที่ไม่ดีเช่น มีฟันผุ มีคราบหินปูน หรือโรคเหงือก อาจเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรคในช่องปาก ทำให้มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจบ่อย หรือ เป็นๆ หายๆ
10.) ผู้ป่วยสามารถอาบน้ำ สระผมได้ตามปกติ แต่ต้องระวังไม่ให้น้ำกระเด็นเข้าหลอดลมคอ งดอาบน้ำด้วยฝักบัว งดการลงสระว่ายน้ำ หรือเล่นน้ำทุกชนิด (เช่นการสาดน้ำกัน) งดอาบน้ำในแม่น้ำลำคลอง และไม่ควรเดินทางทางน้ำ เช่นโดยสารเรือ หลีกเลี่ยงการออกจากบ้านเวลาฝนตก เพราะถ้าน้ำเข้าหลอดลมคอ จะทำให้สำลักน้ำ เนื่องจากกลั้นหายใจไม่ได้ และอาจเกิดอันตรายจนถึงแก่ชีวิต และ ในเด็กเล็ก ถ้าจะอาบน้ำในอ่าง ควรใส่น้ำแต่น้อย และไม่เอนตัวเด็กลงไปจนน้ำท่วมเข้าหลอดลมคอ เพราะน้ำจะเข้าไปท่วมปอดและเสียชีวิตได้
11.) ผู้ป่วยสามารถไปโรงเรียน หรือทำภารกิจนอกบ้านได้ตามปกติ โดยต้องเตรียมท่อชั้นในที่ทำความสะอาดแล้วไปด้วย เพื่อสลับเปลี่ยนในช่วงเวลาที่อยู่นอกบ้าน
12.) ผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ เพราะท่อหลอดลมคอ และหลอดอาหารแยกกันคนละส่วน จึงไม่มีปัญหาแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องระมัดระวังไม่ให้อาหาร หรือน้ำกระเด็นหลุดลงไป โดยใช้ผ้าบางๆ ที่อากาศสามารถผ่านได้ มาคลุมปิดปากท่อไว้ ในขณะรับประทานอาหาร ในเด็กเล็กขณะดูดนม ควรผูกผ้ากันเปื้อนไว้ใต้คาง เพื่อป้องกันการไหลของนมลงหลอดลมคอ
13.) การเปลี่ยนเชือกผูกท่อหลอดลมเอง ต้องทำด้วยความระมัดระวัง อย่าให้ท่อชั้นนอกหลุด ถ้าไม่แน่ใจควรมาเปลี่ยนที่โรงพยาบาล กรณีท่อหลอดลมคอชั้นนอก หรือในหลุดหาย หรือท่อหลอดลมคอทั้งชุดหลุดออกจากคอ ต้องรีบไปพบแพทย์ หรือไปสถานพยาบาลโดยด่วน เพื่อใส่ท่อหลอดลมคอใหม่ มิฉะนั้นอาจเกิดอันตรายจนถึงแก่ชีวิต
14.) แพทย์จะถอดท่อหลอดลมคอออก หลังจากรักษาสาเหตุของโรคที่ทำให้ต้องเจาะคอแล้ว และประการสำคัญคือผู้ป่วยสามารถหายใจได้ทางจมูกสะดวกดี
15.) ควรมาพบแพทย์ตามกำหนดนัด อาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด ได้แก่
✿ ท่อหลอดลมคอหลุด ท่อชั้นในหาย หรือใส่เข้าไม่ได้
✿ หายใจลำบาก หอบเหนื่อย แม้ว่าจะดูดเสมหะ หรือถอดล้างท่อชั้นในแล้วก็ตาม
✿ มีการติดเชื้อที่แผลเจาะคอเช่น มีไข้สูง ปวด บวม แดง มีหนองออกจากแผล
✿ มีเลือดออกจากท่อหลอดลมคอ หรือจากรอบๆท่อ
✿ มีการติดเชื้อในปอด หรือหลอดลม เช่น ไอมาก เสมหะข้น มีสีเขียว สีเหลืองและมีกลิ่นเหม็น และมีไข้ร่วมด้วย
อุปกรณ์ที่ใช้ทำความสะอาดชุดสำหรับเจาะคอ ประกอบด้วย
✿ ภาชนะใส่น้ำ
✿ ชาม หรือหม้อ
✿ แปรงขนาดเล็ก ขนเป็ด หรือขนไก่
✿ สบู่ ผงซักฟอก หรือน้ำยาล้างจาน
✿ ลูกยางแดง หรือเครื่องดูดเสมหะ
วิธีทำความสะอาดชุดสำหรับชุดสายงวงช้างคอลลูเกต ผู้ป่วยเจาะคอ มีขั้นตอนดังนี้
✿ ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง
✿ มือข้างที่ไม่ถนัดจับท่อหลอดลมคอชั้นนอก ส่วนมือข้างที่ถนัดหมุนล็อคช้าๆ และถอดท่อหลอดลมคอชั้นในจากคอ แช่น้ำทิ้งไว้ 5-10 นาที
✿ ล้างท่อชั้นในด้วยสบู่ ผงซักฟอกหรือน้ำยาล้างจานทั้งด้านนอกและด้านใน แปรงท่อด้านในด้วยแปรงขนาดเล็ก จนกว่าเสมหะหลุดออกหมด และล้างด้วยน้ำให้สะอาด โดยการเปิดน้ำก๊อกให้ไหลผ่านภายในท่อหลอดลมคอ ถ้าเป็นท่อชนิดพลาสติกระวังอย่าให้มีรอยถลอก
✿ นำท่อชั้นในชนิดโลหะต้มในน้ำเดือดนาน 30 นาที แล้วนำขึ้นมาวางไว้ให้หายร้อน สำหรับชนิดพลาสติกให้แช่น้ำยาไฮโปคลอไรท์ 0.5 % นาน 30 นาที และล้างด้วยน้ำต้มสุกมากๆ จนแน่ใจว่าไม่มีน้ำยาเหลือค้างอยู่ในท่อ
✿ ก่อนนำไปใช้ ต้องสลัดท่อชั้นในให้แห้งสนิท ไม่ให้มีหยดน้ำค้างอยู่ในท่อเลย
✿ ให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะออกจากคอ หรือดูดเสมหะจากท่อหลอดลมคอชั้นนอกที่ติดอยู่กับผู้ป่วย ด้วยลูกยางแดง หรือใช้เครื่องดูดเสมหะ การดูดแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 10 วินาที
✿ สวมท่อหลอดลมคอชั้นในกลับไปที่คอผู้ป่วยช้าๆ แล้วหมุนล็อคท่อหลอดลมคอให้สนิท เพื่อป้องกันท่อเลื่อนหลุดออกมา
วิธีทำความสะอาดแผลเจาะคอ มีขั้นตอนดังนี้
✿ ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
✿ นั่งหน้ากระจก แต่ถ้าผู้ป่วยเป็นเด็กเล็ก หรือผู้สูงอายุที่ไม่สามารถทำแผลได้เอง ต้องมีผู้ดูแลทำแผลให้ โดยให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงาย หนุนต้นคอด้วยผ้า หรือหมอนเล็กๆ เพื่อให้คอแอ่นขึ้นเล็กน้อย
✿ ใช้กรรไกรตัดพลาสเตอร์ที่ติดบนก๊อส และค่อยๆ ดึงผ้าก๊อสผืนเก่า ที่รองใต้ท่อหลอดลมคอของผู้ป่วยออก
✿ ใช้ปากคีบคีบสำลี และเทแอลกอฮอล์ลงบนสำลีพอหมาด เช็ดผิวหนังบริเวณรอบรูท่อหลอดลมคอ และบริเวณรอบๆแผลโดยวนจากด้านในชิดกับท่อ ออกด้านนอกจนสะอาด
✿ ใช้ปากคีบคีบสำลีและใช้สำลีพันปลายไม้ และเทน้ำเกลือลงบนสำลีพอหมาด แล้วเช็ดผิวหนังบริเวณใต้ท่อหลอดลมคอทั้งด้านบนและด้านล่าง ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา และทำซ้ำด้วยสำลี หรือสำลีพันปลายไม้อันใหม่จนสะอาด ห้ามใช้ไม้พันสำลีแยงเข้าไปภายในท่อหลอดลมคอ เพราะอาจจะหลุดเข้าไป อุดตันหลอดลม ทำให้หายใจไม่ออกได้
✿ ใช้ปากคีบคีบผ้าก๊อสรูปห้าเหลี่ยมที่พับไว้ รองใต้แป้นท่อหลอดลมคอทีละข้าง แล้วปิดพลาสเตอร์ยึดชายผ้าก๊อตด้านล่างเข้าด้วยกัน เพื่อป้องกันท่อหลอดลมคอเสียดสีกับผิวหนัง ในกรณีที่เป็นท่อปีกนิ่ม อาจไม่ต้องใส่ผ้าก๊อตรองก็ได้
✿ อุปกรณ์ที่ใช้แล้ว ได้แก่ ปากคีบ ให้ล้างและต้มฆ่าเชื้อทันทีในน้ำเดือดนาน 30 นาที ส่วนของสกปรกอื่นๆ ใส่ถุงพลาสติก และปิดปากถุงให้แน่นก่อนทิ้ง
สินค้าของแท้
ส่งเร็วทันใจ
เปลี่ยน/คืนได้ภายใน 14 วัน
รีวิวมากมายจากผู้ใช้จริง